Thursday 23 February 2017

การจัดการเรียนรู้แบบการสอนแบบต่างๆ

การจัดการเรียนรู้แบบการสอนแบบต่างๆ



การจัดการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิด (CGI)

การจัดการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิดอยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเชื่อของครูที่เกิดจากการทำความเข้าใจการคิดเชิงคณิตศาสตร์ของนักเรียน แล้วนามาพิจารณาใช้ ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และเชื่อว่าการเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีที่สุดต้องเรียนรู้ผ่าน การแก้ปัญหา โดยการจัดการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิดมีหลักการ (Carpenter et al. 1992, สุธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. 2559 : 81) ดังนี้

1. การจัดการเรียนรู้ควรพัฒนาความเข้าใจของนักเรียนโดยเน้นที่ความสำคัญระหว่างทักษะและการแก้ปัญหา ใช้การแก้ปัญหาเป็นศูนย์รวมของการเรียนรู้

2. การจัดการเรียนรู้ควรจัดสถานการณ์ให้นักเรียนลงมือทำกิจกรรมให้นักเรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเองด้วยความเข้าใจ

3. นักเรียนควรสามารถเชื่อมโยงปัญหา มโนทัศน์หรือทักษะกับความรู้เดิมที่มีอยู่

4. เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบนี้อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความคิดของนักเรียน จึงต้องมีการประเมินอย่างสม่ำเสมอๆ โดยไม่ได้ประเมินเพียงว่านักเรียนแก้ปัญหานั้นๆ ได้ แต่ประเมินด้วยว่านักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร วิธีการประเมินการคิดของนักเรียนที่ได้ผลก็คือ การถามคำถามที่เหมาะสมและฟังคำตอบของนักเรียน



การจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีแบบเปิด (open approach)

เป้าหมาย: เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนคณิตศาสตร์ในแนวทางที่ตอบสนองความสามารถของนักเรียนควบคู่กับการตัดสินใจด้วยตนเองในการเรียนรู้ของพวกเขา และสามารถขยายหรือเพิ่มเติมคุณภาพของกระบวนการและผลที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ได้ หรือกล่าวได้ว่าครูที่ใช้วิธีแบบเปิดจาเป็นต้องทาความเข้าใจแนวคิดของนักเรียนให้มากที่สุด ทาให้แนวคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนขึ้นไปอยู่ในระดับที่สูงขึ้น โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนใช้การอภิปรายกับเพื่อนหรือโดยอาศัยการชี้แนะของครู

การสอนแบบเปิดมุ่งเน้นที่จะเปิดใจของนักเรียนที่มีต่อคณิตศาสตร์มากกว่าเน้นการสอนเนื้อหาให้ครบ โดยยึดหลักการว่า (สุธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. 2559 : 81)

1. มีความสัมพันธ์กับความอิสระของกิจกรรมของนักเรียน นั่นคือ ครูต้องตระหนักในคุณค่าของกิจกรรมของนักเรียนโดยที่จะพยายามไม่เข้าไปสอดแทรกโดยไม่จาเป็น

2. มีความสัมพันธ์กับธรรมชาติของความรู้ทางคณิตศาสตร์ที่มีลักษณะในเชิงวิวัฒนาการและเชิงบูรณาการ

3. มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจที่มีประโยชน์ของครูในห้องเรียน



การจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT

การจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT ยึดหลักว่าผู้เรียนมีการใช้สมองแต่ละซีกแตกต่างกันและแต่ละคนมีความสามารถแฝงติดตัวมาด้วย ซึ่งแต่ละคนมีไม่เหมือนกัน ทำให้ผู้เรียนแต่ละคนมีลีลา/วิธีการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน เรียกได้เป็นการจัดการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบ 4MAT จัดผู้เรียนเป็น 4 แบบ ซึ่งมีรูปแบบการเรียนรู้และการรับรู้ที่แตกต่างกันดังนี้ (Morris; & McCarthy. 1990: 194-195)

ผู้เรียนแบบที่ 1 เรียนรู้โดยใช้จินตนาการ ผ่านกระบวนการรับรู้อย่างไตร่ตรอง (reflective watching) ชอบถามเหตุผลว่า "ทำไม" หรือ "Why?" เรียนได้ดีด้วยการฟัง จะรับข้อมูลแล้วแปลความเป็นข้อมูลของตนเอง สามารถจัดการปัญหาได้ด้วยตนเองและระดมความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นได้

ผู้เรียนแบบที่ 2 เรียนรู้โดยใช้การวิเคราะห์ รับรู้ผ่านกระบวนการดู การเห็น หรือรับข้อมูลอย่างไตร่ตรอง ชอบถามว่าข้อเท็จจริงคือ "อะไร" หรือ "What?" จะหารายละเอียดและคิดเป็นขั้นตอน ตรวจสอบข้อเท็จจริง และจัดการกับปัญหาด้วยข้อเท็จจริงและหลักการ ให้ความสำคัญกับข้อมูลที่ได้รับการยืนยันกับผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญ

ผู้เรียนแบบที่ 3 เรียนรู้ผ่านการลงมือกระทำ ชอบถามว่า "อย่างไร" หรือ "How?" ชอบลงมือปฏิบัติ ประมวลความรู้จากการลงมือทำ พยายามค้นหาประยุกต์เป็นแนวคิดของเฉพาะของตนเอง

ผู้เรียนแบบที่ 4 เรียนรู้แบบพลวัตและการค้นพบด้วยตนเอง ชอบถามว่า "ถ้าอย่างนั้น" หรือ "If?" จะเรียนรู้ผ่านการลองผิดลองถูก ชอบทำสิ่งใหม่ๆ ค้นหาแนวทางและเชื่อมโยงกับสถานการณ์ในชีวิตจริง มีการสังเคราะห์ความรู้และทักษะเพื่อให้เกิดการเรียนรู้หรือชิ้นงาน




การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL)

หลักการ: ปัญหาสามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสงสัยและความต้องการที่จะแสวงหาความรู้ เพื่อขจัดความสงสัยดังกล่าว การให้นักเรียนได้เผชิญกับปัญหาจริงหรือสถานการณ์ปัญหาต่างๆ และร่วมกันคิดหาทางแก้ปัญหานั้นๆ จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการต่างๆ อันเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดำรงชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิต

นิยาม: เป็นการจัดสภาพการณ์ของการเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นเครื่องมือช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย โดยครูอาจนำนักเรียนไปเผชิญกับปัญหา หรือจัดสภาพการณ์

ให้นักเรียนได้เผชิญ และฝึกกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกัน เป็นกลุ่ม ซึ่งจะทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจปัญหาอย่างชัดเจน ได้เห็นทางเลือกและวิธีการที่หลากหลายใน การแก้ปัญหา รวมทั้งยังช่วยให้นักเรียนเกิดการใฝ่รู้ เกิดทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ




การจัดการเรียนรู้แบบเมตาคอกนิชัน (metacognition)

ในการแก้ปัญหา: เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมที่มีอยู่ แล้วเลือกยุทธวิธีในการคิด วางแผน กากับ หรือตรวจสอบ และประเมินกระบวนการคิด (นภัสสร พฤฒตยาคี. 2552: 20) และหากบุคคลรู้ถึงการคิดของตนเอง และสามารถควบคุมการคิดของตนให้เป็นไปในทางที่ต้องการ หรือมีความตระหนักรู้เกี่ยวกับความรู้และความสามารถของตนเอง และใช้ความเข้าใจในการรู้เรื่องดังกล่าวใน การควบคุมกระบวนการคิด การทางานของตนเองด้วยยุทธวิธีต่างๆ จะช่วยให้การเรียนรู้และงานที่ทาประสบผลสำเร็จตามที่ต้องการ ซึ่งองค์ประกอบสำคัญที่ใช้ในการบริหาร อภิปัญญา คือ แรงจูงใจ ความตั้งใจ และความมุ่งหวังต่างๆ (ทิศนา แขมมณี. 2544: 28, สุธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. 2559 : 81)

     การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (active learning)
(สุชาดา แก้วพิกุล. 2555: 12 ; สุธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. 2559 : 83)


1. ใช้หลักการสอนแบบซักถามที่เน้นให้นักเรียนค้นพบคำตอบด้วยตัวนักเรียนเองจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนด้วยกันและกับครูผู้สอน

2. เน้นให้นักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ

3. ลดการถ่ายทอดความรู้จากครูให้น้อยลง และพัฒนาทักษะให้เกิดกับนักเรียน

4. นักเรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยลงมือกระทำมากกว่านั่งฟังอย่างเดียว

5. นักเรียนมีส่วนในกิจกรรม

6. เน้นการสารวจเจตคติและคุณค่าที่มีอยู่ในนักเรียน

7. นักเรียนได้พัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลการนำไปใช้

8. นักเรียนและครูรับข้อมูลป้อนกลับจากการสะท้อนความคิดได้อย่างรวดเร็ว





 บรรณานุกรม 


ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์.

นภัสสร พฤฒตยาคี. (2552). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดเชิง เมตาคอกนิชันในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาเศษส่วน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์. ศศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). ขอนแก่น: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ถ่ายเอกสาร.


สุชาดา แก้วพิกุล. (2555). การพัฒนากิจกรรมคณิตศาสตร์ที่ใช้การจัดการเรียนการสอนอย่างกระตือรือร้น โดยเน้นการเรียนเป็นคู่ร่วมกับการบริหารสมอง เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสุขในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. 2559.
ปริญญานิพนธ์ ปร.ด. (วิทยาการทางการศึกษา และการจัดการเรียนรู้). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
 Carpenter, T.P.; & Fennema, E. (1992). Cognitively Guided Instruction: Building on the Knowledge of students and teachers. International Journal of Research in Education. 17(5): 457 - 470.
 
Morris, Susan; & McCarthy, Bernice. (1990). 4 MAT in Action II: Sample Lesson Plans for Use with the 4MAT System. Barrington,III: Excel.


Types of Dinosaurs



   
Types of Dinosaurs
 

There were many different kinds of dinosaurs.
  • The smallest types were about the same size as a chicken, and the largest were over 100 feet (30 meters) long.
  • Different dinosaurs ate different diets. Some types of dinosaurs ate only meat ("carnivores"), some ate only plants ("herbivores"), and some ate both plants and meats ("omnivores").
  • Many people incorrectly assume that all the dinosaurs lived together at the same time. This was not the case. The dinosaurs lived during a period known as the Mesozoic Era which lasted many millions of years. During that time, new types of dinosaurs evolved, and other types went extinct. In fact, in terms of distance in time, we are closer to some of the later types of dinosaurs such as Tyrannosaurus rex and Triceratops, than they are to some of the mid-period, and relatively early types of dinosaurs such as Stegosaurus or Plateosaurus.
  • The world was very different at the time of the dinosaurs, however the dinosaurs were around for such a long time that the world changed considerably over this period:
    • At the time of the earliest dinosaurs, the Triassic period, all the Earth's continents were joined together in one super-continent, called Pangaea.
    • During the final period of the dinosaurs, known as the the Cretaceous period, just before the dinosaurs become extinct, the super-continent had broken up, and the different parts had begun to drift apart into something starting to resemble the modern globe. 

    Of course, during this entire period, different regions had different climates and ecology, and so different types of animals (including different types of dinosaurs) were found in the various parts of the world.
  • Just like modern animals, the different types of dinosaurs were related to each other. Biologists use the terms "order", "family", "genus" and "species" to classify dinosaurs and to indicate how closely different types of animals are related.

    A dinosaur which is the same species as another dinosaur is of the exact same type, whereas two dinosaurs which are of the same genus are closely related but of different types, and two dinosaurs of the same family are a bit more distantly related and so on.



The chart below shows some of the different types of dinosaurs (divided into herbivores, carnivores and omnivores). In most cases, the chart shows a genus or family of dinosaur, although in some cases a single species may be indicated. 

Please select any one of these dinosaurs, if you would like to find out more informaiton about that particular type of dinosaur: 

Carnivornes
(Meat-Eaters)
Herbivores
(Plant-Eaters)
Omnivores
(Ate Meat and Plants)



Acrocanthosaurus
Acrocanthosaurus

Adasaurus
Adasaurus

Afrovenator
Afrovenator

Albertosaurus
Albertosaurus

Alectrosaurus
Alectrosaurus

Alioramus
Alioramus

Allosaurus
Allosaurus

Anchiornis
Anchiornis

Aucasaurus
Aucasaurus

Bambiraptor
Bambiraptor

Baryonyx
Baryonyx

Buitreraptor
Buitreraptor

Carcharodontosaurus
Carcharodontosaurus

Carnotaurus
Carnotaurus

Ceratosaurus
Ceratosaurus

Coelophysis
Coelophysis

Coelurus
Coelurus

Compsognathus
Compsognathus

Cryolophosaurus
Cryolophosaurus

Deinonychus
Deinonychus

Dilong
Dilong

Dilophosaurus
Dilophosaurus

Dromaeosaurus
Dromaeosaurus

Eotyrannus
Eotyrannus

Epidexipteryx
Epidexipteryx

Giganotosaurus
Giganotosaurus

Gorgosaurus
Gorgosaurus

Guanlong
Guanlong

Herrerasaurus
Herrerasaurus

Majungasaurus
Majungasaurus

Megalosaurus
Megalosaurus

Microraptor
Microraptor

Rajasaurus
Rajasaurus

Rugops
Rugops

Saltopus
Saltopus

Scipionyx
Scipionyx

Sinornithoides
Sinornithoides

Sinosauropteryx
Sinosauropteryx

Spinosaurus
Spinosaurus

Staurikosaurus
Staurikosaurus

Suchomimus
Suchomimus

Tarbosaurus
Tarbosaurus

Torvosaurus
Torvosaurus

Troodon
Troodon

Tyrannosaurus rex
Tyrannosaurus rex

Utahraptor
Utahraptor

Velociraptor
Velociraptor

Xiongguanlong
Xiongguanlong

Yangchuanosaurus
Yangchuanosaurus
  




Achelousaurus
Achelousaurus

Agujaceratops
Agujaceratops

Alamosaurus
Alamosaurus

Altirhinus
Altirhinus

Alxasaurus
Alxasaurus

Ampelosaurus
Ampelosaurus

Anchiceratops
Anchiceratops

Animantarx
Animantarx

Ankylosaurus
Ankylosaurus

Apatosaurus
Apatosaurus
(Brontosaurus)
Argentinosaurus
Argentinosaurus

Avaceratops
Avaceratops

Bactrosaurus
Bactrosaurus

Brachiosaurus
Brachiosaurus

Camarasaurus
Camarasaurus

Camptosaurus
Camptosaurus

Centrosaurus
Centrosaurus

Cetiosaurus
Cetiosaurus

Chasmosaurus
Chasmosaurus

Corythosaurus
Corythosaurus

Diabloceratops
Diabloceratops

Diplodocus
Diplodocus

Echinodon
Echinodon

Edmontonia
Edmontonia

Edmontosaurus
Edmontosaurus

Eotriceratops
Eotriceratops

Euoplocephalus
Euoplocephalus
(Scolosaurus)
Gastonia
Gastonia

Gigantspinosaurus
Gigantspinosaurus

Giraffatitan
Giraffatitan

Hadrosaurus
Hadrosaurus

Heterodontosaurus
Heterodontosaurus

Hypsilophodon
Hypsilophodon

Iguanodon
Iguanodon

Kentrosaurus
Kentrosaurus

Kritosaurus
Kritosaurus

Lambeosaurus
Lambeosaurus

Lesothosaurus
Lesothosaurus

Magyarosaurus
Magyarosaurus

Maiasaura
Maiasaura

Mamenchisaurus
Mamenchisaurus

Massospondylus
Massospondylus

Melanorosaurus
Melanorosaurus

Minmi
Minmi

Monoclonius
Monoclonius

Mussaurus
Mussaurus

Muttaburrasaurus
Muttaburrasaurus

Nanyangosaurus
Nanyangosaurus

Nemegtosaurus
Nemegtosaurus

Nigersaurus
Nigersaurus

Nipponosaurus
Nipponosaurus

Nodosaurus
Nodosaurus

Ouranosaurus
Ouranosaurus

Pachycephalosaurus
Pachycephalosaurus

Pachyrhinosaurus
Pachyrhinosaurus

Panoplosaurus
Panoplosaurus

Paralititan
Paralititan

Parasaurolophus
Parasaurolophus

Pentaceratops
Pentaceratops

Pinacosaurus
Pinacosaurus

Pisanosaurus
Pisanosaurus

Plateosaurus
Plateosaurus

Prenocephale
Prenocephale

Protoceratops
Protoceratops

Psittacosaurus
Psittacosaurus

Riojasaurus
Riojasaurus

Saichania
Saichania

Saltasaurus
Saltasaurus

Saurolophus
Saurolophus

Scutellosaurus
Scutellosaurus

Seismosaurus
Seismosaurus

Stegoceras
Stegoceras

Stegosaurus
Stegosaurus

Styracosaurus
Styracosaurus

Supersaurus
Supersaurus
(Ultrasauros)
Talarurus
Talarurus

Tarchia
Tarchia

Torosaurus
Torosaurus

Trachodon
Trachodon

Triceratops
Triceratops

Tuojiangosaurus
Tuojiangosaurus

Ultrasaurus
Ultrasaurus

Unaysaurus
Unaysaurus

Zalmoxes
Zalmoxes

Zuniceratops
Zuniceratops
  




Abrictosaurus
Abrictosaurus

Avimimus
Avimimus

Caudipteryx
Caudipteryx

Chirostenotes
Chirostenotes

Dromiceiomimus
Dromiceiomimus

Gallimimus
Gallimimus

Nomingia
Nomingia

Ornithomimus
Ornithomimus

Oviraptor
Oviraptor

Pelecanimimus
Pelecanimimus

Protarchaeopteryx
Protarchaeopteryx

Sinovenator
Sinovenator

Struthiomimus
Struthiomimus