การปลูกพืชในกระถาง
กระถาง (Pot & container)
ความงามของไม้ประดับ จะมีมากขึ้นหรือลดลง ขึ้นอยู่กับศิลปะการตกแต่ง ระหว่างต้นไม้กับสภาพแวดล้อมและสิ่งแรกเลยที่เรามองเห็นก็คือกระถาง ซึ่งกระถางนั้น ก็มีหลายชนิด หลายรูปแบบ แต่อย่างไรก็ตาม เราก็สามารถแบ่งกระถางออกได้เป็น 3 ประเภท ตามวัตถุประสงค์ของการนำมาใช้งาน คือ กระถางที่ใช้สำหรับปลูกต้นไม้โดยตรง
กระถางจำพวกนี้เน้นไปที่การหาง่าย ใช้สะดวกซึ้งสามารถดัดแปลงมาจากวัสดุต่างๆ ภายในครอบครัว สิ่งของเหลือใช้ เช่น หม้อ ไห ถังน้ำ กะละมัง ฯลฯ
ซึ่งแบบที่หนึ่งนี้ เราไม่ได้สนใจรูปร่างของกระถาง แต่เราสนใจต้นไม้เท่านั้น กระถางที่ใช้สำหรับตกแต่ง
กระถางแบบนี้ มักจะนำมาสวม หรือรองรับกระถางที่ปลูกต้นไม้อีกทีหนึ่ง กระถางแบบนี้ ผู้ผลิตจะมุ่งเน้นไปที่ความสวยงาม รูปทรง และเนื้อวัสดุ
เป็นสำคัญ ซึ่งอาจทำมาจากไม้ไผ่ หวาย อะลูมิเนียม พลาสติก กระเบื้อง สแตนเลส เซรามิค ฯลฯ กระถางที่ใช้สำหรับปลูกและตกแต่งพร้อมกัน
กระถางประเภทนี้ มักทำมาจากเซรามิค ดินเผา หรือพลาสติก สามารถปลูกต้นไม้ลงไปในกระถางได้โดยตรง มีรูระบายน้ำออก
และมีถาดรับน้ำส่วนเกินรองอยู่ สำหรับลักษณะของกระถางที่เราเห็นกันอยู่ตามอาคารสถานที่ต่าง ๆ เท่าที่พบ จะเห็นมีอยู่ 3 ประเภท คือ
1. กระถางตั้งพื้น (Standard pot) กระถางแบบนี้ จะมีความสูงเท่ากับความกว้างของปากกระถาง และมีหลายขนาด ตั้งแต่ 1-16 นิ้ว
ใช้ในการปลูกต้นไม้ที่มีทรงสูง และมีระบบรากลึก เช่น พืชตระกูลปาล์ม และไทร เป็นต้น 2. กระถางตั้งโต๊ะ (Pan) กระถางแบบนี้ จะมีความสูงแค่ 1/2 ของความกว้างของปากกระถาง มีขนาดต่าง ๆ กัน ตั้งแต่ 5-16 นิ้ว
พืชที่นิยมปลูกกับกระถางพวกนี้ ได้แก่ ไม้ที่มีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย และมีทรงพุ่มแผ่ขยายกว้าง เช่น พวกเปบเปอร์โรเมีย เป็นต้น 3. กระถางแขวน (Tub) กระถางชนิดนี้จะมีความสูง เพียงแค่ 1 ใน 3 ของความกว้างของปากกระถางเทานั้น มีขนาดความกว้างตั้งแต่ 5 นิ้ว ขึ้นไป
ส่วนมากจะเจาะรูเอาไว้ เพื่อแขวน ประมาณ 3-4 รู ใช้ปลูกพืชที่มีระบบรากตื้นและมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว ชอบเลื้อยเมื่อนำไปแขวน
ซึ่งจะทำให้เกิดการห้อยย้อย มองดูแล้วเกิดความสวยงาม
การที่ผู้ปลูกจะเลือกใช้กระถางดินเผา หรือกระถางพลาสติกนั้นก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของต้นไม้ และการใช้ประโยชน์
ทั้งนี้และทั้งนั้นผู้ปลูกควรใช้ดุลย์พินิจพิจารณาเอาเองตามความเหมาะสม เพราะว่ากระถางดินเผา และกระถางพลาสติก ก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
แตกต่างกันออกไป ดังนี้คือ ข้อดีและข้อเสียของกระถางพลาสติก
ข้อดี
1. มีน้ำหนักเบา สะดวกต่อการโยกย้าย และขนส่ง
2. ชำรุดเสียหายยาก
3. เก็บรักษา และล้างทำความสะอาดได้ง่าย
4. เก็บความชื้นได้ดีกว่า ไม่ต้องรดน้ำบ่อย
5. ไม่มีปัญหาเรื่องตะไคร้น้ำ ข้อเสีย
1. อาการถ่ายเทได้ไม่สะดวก เพราะกระถางทึบไม่มีรูพรุน
2. ถ้ารดน้ำมากเกินไป รากพืชอาจขาดออกซิเจน และเน่าตายได้ เพราะน้ำขัง
3.ในฤดูร้อน อุณหภูมิเครื่องปลูกจะสูงมาก โดยเฉพาะในกระถาง พลาสติกสีดำ อาจถึงระดับเป็นอันตรายแก่ต้นไม้ได้
4. จะกรอบและแตกหักได้ง่าย ถ้านำไปวางตากแดดไว้นาน ๆ การแก้ปัญหาในกระถางพลาสติก
1. ใช้เครื่องปลูกที่มีชิ้นส่วนขนาดใหญ่ และหยาบ เช่น พวกปุ๋ยหมัก แกลบผุ ๆ เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกยิ่งขึ้น
2. เจาะรูก้นกระถางกันน้ำขัง โดยให้มีมากกว่า 1 รู ขนาดของรูก็ขึ้นอยู่กับขนาดของกระถางด้วย แต่ไม่ควรให้มีขนาดเกินกว่า 1/2 นิ้ว
3. กรณีอุณหภูมิสูง ก็ควรหลีกเลี่ยงการใช้กระถางสีดำ โดยหันไปใช้สีอื่นแทน ถ้าไม่เกี่ยงเรื่องราคา อาจใช้สีครีมก็ได้ (กระถางสีครีมจะมีคาคาแพงที่สุด และสีอื่นก็จะรองลงไป ส่วนสีดำจะมีราคาถูกทีสุด ข้อดีและข้อเสียของกระถางดินเผา
ข้อดี
1. การถ่ายเทอากาศดี เพราะมีรูพรุนรอบ ๆ กระถางทำให้รากได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2. ในฤดูร้อน อุณหภูมิของเครื่องปลูกไม่สูงเกินไป จนเป็นอันตรายต่อต้นไม้
3. ทำความสะอาดกระถาง โดยการอบไอน้ำ และรมด้วยสารเคมีทุกชนิด ได้โดยไม่เสียรูปทรง ข้อเสีย
1. น้ำหนักมาก แตกเสียหายได้ง่าย
2. การเก็บรักษาต้องใช้พื้นที่มาก เพราะวางซ้อนกันได้ไม่สนิท
3. เมื่อปลูกไปนาน ๆ จะมีตะไคร้น้ำจับเป็นสีเขียว ต้องเสียเวลาในการขัดถู ขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ในกระถาง
- ก่อนปลูกต้นไม้ลงในกระถาง จะต้องเบือกกระถางให้มีขนาดพอเหมาะกับต้นไม้นั้น เมื่อได้กรถางมาแล้ว ก็หากระเบื้องแตก ประมาณ 2-3 ชิ้น
วางปิดรูก้นกระถาง ทุบอิฐมอญเป็นก้อนเล็ก ๆ ใส่ลงกันกระถาง สูงขึ้นมา ประมาณ 1 นิ้ว เพื่อช่วยในการระบายน้ำได้ดีขึ้น
- ผสมดินสำหรับปลูกต้นไม้ทั่วๆ ไปดังนี้ ดินร่วน 1 ส่วน ใบไม้ผุ 1 ส่วน ปุ๋ยเทศบาล 1 ส่วน ใส่ลงไปประมาณครึ่งกระถาง
เอาต้นไม้วางลงแล้วเอาดินที่ผสมแล้วใส่ลงไปเกือบเต็มกระถาง เหลือไว้ประมาณ 1 นิ้วแล้วกดดินให้แน่น เพื่อไม่ให้ต้นไม้ล้ม
- รดน้ำให้ชุ่ม แล้วยกไปวางในที่ร่มหรือพักไว้ในเรือนต้นไม้ จนกว่าจะตั้งตัวได้ จึงยกออกไปวางเป็นไม้ประดับ ในการปลูกไม้ใบ
อาจปลูกรวมกันหลาย ๆ ชนิด ในกระถางเดียวกันก็ได้ โดยเลือกความสูง สีและใบให้ต่างกันจะทำให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น
- ถ้าเป็นต้นไม้สำหรับตกแต่งอาคาร เช่น นำมาปลูกไว้ภายในบ้านต้องเลือกกระถางที่สวยงามพอสมควร
หรือนำต้นไม้ที่ปลูกไว้ในกระถางแล้วมารวมลงในกระถางที่สวยงามนั้นก็ได้ แต่จะต้องมีจานรองรับน้ำเพื่อกันไม่ให้น้ำไหลออกมาภายนอกเมื่อรดน้ำ
- สำหรับต้นไม้ที่วางไว้ในอาคารบางชนิด ต้องมีการเปลี่ยนอยู่เสมอ กล่าวคือ เมื่อนำมาประดับไว้สัก 1-2 สัปดาห์
ก็จะต้องเปลี่ยนออกแล้วเอาต้นอื่นมาแทน เพื่อป้องกันมิให้ต้นไม้โทรมเร็ว
- เมื่อปลูกต้นไม้ไปนาน ๆ รากก็จะขึ้นเต็มกระถาง ดังนั้นจึงควรมรการเปลี่ยนกระถางต้นไม้ทุกต้นอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง การเปลี่ยนกระถางต้นไม้
การเปลี่ยนกระถางต้นไม้ ไม่มีเทคนิคและขั้นตอนอะไรมากมายขั้นแรกคือ จะต้องเตรียมกระถางใบใหม่อุดรูก้นกระถาง ด้วยเศษกระเบื้องแตก หรืออิฐมอญ แล้วใส่ดินสูตรที่ต้นไม้ต้องการลงไปในกระถางขั้นต่อมาคือ การย้ายต้นไม้ออกจากกระถางเก่า โดยจับต้นไม้ด้วยมือซ้ายหรือมือขวา ข้างใดข้างหนึ่งที่ถนัดให้ต้นไม้อยู่ระหว่างนิ้วชี้และนิ้วกลางแล้วใช้มืออีกข้างจับกระถางคว่ำลง ใช้หัวแม่มือดันดินบริเวณรูก้นกระถาง เพื่อให้ต้นไม้และดินหลุดออกจากกระถาง ถ้าถอดไม่ออก็นำกระถางต้นไม้นั้นไปแช่น้ำเสียก่อนเพื่อจะได้ถอดง่ายขึ้น เมื่อถอดได้แล้วก็นำต้นไม้ พร้อมทั้งดินเก่าที่ติดมากับรากไปปลูกในกระถางใหม่ เพื่อย้ายไปปลูกในกระถางใหม่เสร็จแล้ว ก็ต้องนำดินปลูกสูตรเดียวกันใส่เข้าไปรอบ ๆ กระถาง กระทุ้งให้แน่นพอสมควร แล้วจึงรดน้ำตามอีกทีในการย้ายหรือเปลี่ยนกระถางพืชที่มีหนามเช่นกระบองเพชรควรมรการระมัดระวังป้องกันโดยการใส่ถุงมือที่หนาและควรมีผ้าหรือกระดาษช่วยใน
การจับด้วย
กระถางจำพวกนี้เน้นไปที่การหาง่าย ใช้สะดวกซึ้งสามารถดัดแปลงมาจากวัสดุต่างๆ ภายในครอบครัว สิ่งของเหลือใช้ เช่น หม้อ ไห ถังน้ำ กะละมัง ฯลฯ
ซึ่งแบบที่หนึ่งนี้ เราไม่ได้สนใจรูปร่างของกระถาง แต่เราสนใจต้นไม้เท่านั้น กระถางที่ใช้สำหรับตกแต่ง
กระถางแบบนี้ มักจะนำมาสวม หรือรองรับกระถางที่ปลูกต้นไม้อีกทีหนึ่ง กระถางแบบนี้ ผู้ผลิตจะมุ่งเน้นไปที่ความสวยงาม รูปทรง และเนื้อวัสดุ
เป็นสำคัญ ซึ่งอาจทำมาจากไม้ไผ่ หวาย อะลูมิเนียม พลาสติก กระเบื้อง สแตนเลส เซรามิค ฯลฯ กระถางที่ใช้สำหรับปลูกและตกแต่งพร้อมกัน
กระถางประเภทนี้ มักทำมาจากเซรามิค ดินเผา หรือพลาสติก สามารถปลูกต้นไม้ลงไปในกระถางได้โดยตรง มีรูระบายน้ำออก
และมีถาดรับน้ำส่วนเกินรองอยู่ สำหรับลักษณะของกระถางที่เราเห็นกันอยู่ตามอาคารสถานที่ต่าง ๆ เท่าที่พบ จะเห็นมีอยู่ 3 ประเภท คือ
1. กระถางตั้งพื้น (Standard pot) กระถางแบบนี้ จะมีความสูงเท่ากับความกว้างของปากกระถาง และมีหลายขนาด ตั้งแต่ 1-16 นิ้ว
ใช้ในการปลูกต้นไม้ที่มีทรงสูง และมีระบบรากลึก เช่น พืชตระกูลปาล์ม และไทร เป็นต้น 2. กระถางตั้งโต๊ะ (Pan) กระถางแบบนี้ จะมีความสูงแค่ 1/2 ของความกว้างของปากกระถาง มีขนาดต่าง ๆ กัน ตั้งแต่ 5-16 นิ้ว
พืชที่นิยมปลูกกับกระถางพวกนี้ ได้แก่ ไม้ที่มีลักษณะเป็นพุ่มเตี้ย และมีทรงพุ่มแผ่ขยายกว้าง เช่น พวกเปบเปอร์โรเมีย เป็นต้น 3. กระถางแขวน (Tub) กระถางชนิดนี้จะมีความสูง เพียงแค่ 1 ใน 3 ของความกว้างของปากกระถางเทานั้น มีขนาดความกว้างตั้งแต่ 5 นิ้ว ขึ้นไป
ส่วนมากจะเจาะรูเอาไว้ เพื่อแขวน ประมาณ 3-4 รู ใช้ปลูกพืชที่มีระบบรากตื้นและมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว ชอบเลื้อยเมื่อนำไปแขวน
ซึ่งจะทำให้เกิดการห้อยย้อย มองดูแล้วเกิดความสวยงาม
การที่ผู้ปลูกจะเลือกใช้กระถางดินเผา หรือกระถางพลาสติกนั้นก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของต้นไม้ และการใช้ประโยชน์
ทั้งนี้และทั้งนั้นผู้ปลูกควรใช้ดุลย์พินิจพิจารณาเอาเองตามความเหมาะสม เพราะว่ากระถางดินเผา และกระถางพลาสติก ก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย
แตกต่างกันออกไป ดังนี้คือ ข้อดีและข้อเสียของกระถางพลาสติก
ข้อดี
1. มีน้ำหนักเบา สะดวกต่อการโยกย้าย และขนส่ง
2. ชำรุดเสียหายยาก
3. เก็บรักษา และล้างทำความสะอาดได้ง่าย
4. เก็บความชื้นได้ดีกว่า ไม่ต้องรดน้ำบ่อย
5. ไม่มีปัญหาเรื่องตะไคร้น้ำ ข้อเสีย
1. อาการถ่ายเทได้ไม่สะดวก เพราะกระถางทึบไม่มีรูพรุน
2. ถ้ารดน้ำมากเกินไป รากพืชอาจขาดออกซิเจน และเน่าตายได้ เพราะน้ำขัง
3.ในฤดูร้อน อุณหภูมิเครื่องปลูกจะสูงมาก โดยเฉพาะในกระถาง พลาสติกสีดำ อาจถึงระดับเป็นอันตรายแก่ต้นไม้ได้
4. จะกรอบและแตกหักได้ง่าย ถ้านำไปวางตากแดดไว้นาน ๆ การแก้ปัญหาในกระถางพลาสติก
1. ใช้เครื่องปลูกที่มีชิ้นส่วนขนาดใหญ่ และหยาบ เช่น พวกปุ๋ยหมัก แกลบผุ ๆ เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวกยิ่งขึ้น
2. เจาะรูก้นกระถางกันน้ำขัง โดยให้มีมากกว่า 1 รู ขนาดของรูก็ขึ้นอยู่กับขนาดของกระถางด้วย แต่ไม่ควรให้มีขนาดเกินกว่า 1/2 นิ้ว
3. กรณีอุณหภูมิสูง ก็ควรหลีกเลี่ยงการใช้กระถางสีดำ โดยหันไปใช้สีอื่นแทน ถ้าไม่เกี่ยงเรื่องราคา อาจใช้สีครีมก็ได้ (กระถางสีครีมจะมีคาคาแพงที่สุด และสีอื่นก็จะรองลงไป ส่วนสีดำจะมีราคาถูกทีสุด ข้อดีและข้อเสียของกระถางดินเผา
ข้อดี
1. การถ่ายเทอากาศดี เพราะมีรูพรุนรอบ ๆ กระถางทำให้รากได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2. ในฤดูร้อน อุณหภูมิของเครื่องปลูกไม่สูงเกินไป จนเป็นอันตรายต่อต้นไม้
3. ทำความสะอาดกระถาง โดยการอบไอน้ำ และรมด้วยสารเคมีทุกชนิด ได้โดยไม่เสียรูปทรง ข้อเสีย
1. น้ำหนักมาก แตกเสียหายได้ง่าย
2. การเก็บรักษาต้องใช้พื้นที่มาก เพราะวางซ้อนกันได้ไม่สนิท
3. เมื่อปลูกไปนาน ๆ จะมีตะไคร้น้ำจับเป็นสีเขียว ต้องเสียเวลาในการขัดถู ขั้นตอนในการปลูกต้นไม้ในกระถาง
- ก่อนปลูกต้นไม้ลงในกระถาง จะต้องเบือกกระถางให้มีขนาดพอเหมาะกับต้นไม้นั้น เมื่อได้กรถางมาแล้ว ก็หากระเบื้องแตก ประมาณ 2-3 ชิ้น
วางปิดรูก้นกระถาง ทุบอิฐมอญเป็นก้อนเล็ก ๆ ใส่ลงกันกระถาง สูงขึ้นมา ประมาณ 1 นิ้ว เพื่อช่วยในการระบายน้ำได้ดีขึ้น
- ผสมดินสำหรับปลูกต้นไม้ทั่วๆ ไปดังนี้ ดินร่วน 1 ส่วน ใบไม้ผุ 1 ส่วน ปุ๋ยเทศบาล 1 ส่วน ใส่ลงไปประมาณครึ่งกระถาง
เอาต้นไม้วางลงแล้วเอาดินที่ผสมแล้วใส่ลงไปเกือบเต็มกระถาง เหลือไว้ประมาณ 1 นิ้วแล้วกดดินให้แน่น เพื่อไม่ให้ต้นไม้ล้ม
- รดน้ำให้ชุ่ม แล้วยกไปวางในที่ร่มหรือพักไว้ในเรือนต้นไม้ จนกว่าจะตั้งตัวได้ จึงยกออกไปวางเป็นไม้ประดับ ในการปลูกไม้ใบ
อาจปลูกรวมกันหลาย ๆ ชนิด ในกระถางเดียวกันก็ได้ โดยเลือกความสูง สีและใบให้ต่างกันจะทำให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น
- ถ้าเป็นต้นไม้สำหรับตกแต่งอาคาร เช่น นำมาปลูกไว้ภายในบ้านต้องเลือกกระถางที่สวยงามพอสมควร
หรือนำต้นไม้ที่ปลูกไว้ในกระถางแล้วมารวมลงในกระถางที่สวยงามนั้นก็ได้ แต่จะต้องมีจานรองรับน้ำเพื่อกันไม่ให้น้ำไหลออกมาภายนอกเมื่อรดน้ำ
- สำหรับต้นไม้ที่วางไว้ในอาคารบางชนิด ต้องมีการเปลี่ยนอยู่เสมอ กล่าวคือ เมื่อนำมาประดับไว้สัก 1-2 สัปดาห์
ก็จะต้องเปลี่ยนออกแล้วเอาต้นอื่นมาแทน เพื่อป้องกันมิให้ต้นไม้โทรมเร็ว
- เมื่อปลูกต้นไม้ไปนาน ๆ รากก็จะขึ้นเต็มกระถาง ดังนั้นจึงควรมรการเปลี่ยนกระถางต้นไม้ทุกต้นอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง การเปลี่ยนกระถางต้นไม้
การเปลี่ยนกระถางต้นไม้ ไม่มีเทคนิคและขั้นตอนอะไรมากมายขั้นแรกคือ จะต้องเตรียมกระถางใบใหม่อุดรูก้นกระถาง ด้วยเศษกระเบื้องแตก หรืออิฐมอญ แล้วใส่ดินสูตรที่ต้นไม้ต้องการลงไปในกระถางขั้นต่อมาคือ การย้ายต้นไม้ออกจากกระถางเก่า โดยจับต้นไม้ด้วยมือซ้ายหรือมือขวา ข้างใดข้างหนึ่งที่ถนัดให้ต้นไม้อยู่ระหว่างนิ้วชี้และนิ้วกลางแล้วใช้มืออีกข้างจับกระถางคว่ำลง ใช้หัวแม่มือดันดินบริเวณรูก้นกระถาง เพื่อให้ต้นไม้และดินหลุดออกจากกระถาง ถ้าถอดไม่ออก็นำกระถางต้นไม้นั้นไปแช่น้ำเสียก่อนเพื่อจะได้ถอดง่ายขึ้น เมื่อถอดได้แล้วก็นำต้นไม้ พร้อมทั้งดินเก่าที่ติดมากับรากไปปลูกในกระถางใหม่ เพื่อย้ายไปปลูกในกระถางใหม่เสร็จแล้ว ก็ต้องนำดินปลูกสูตรเดียวกันใส่เข้าไปรอบ ๆ กระถาง กระทุ้งให้แน่นพอสมควร แล้วจึงรดน้ำตามอีกทีในการย้ายหรือเปลี่ยนกระถางพืชที่มีหนามเช่นกระบองเพชรควรมรการระมัดระวังป้องกันโดยการใส่ถุงมือที่หนาและควรมีผ้าหรือกระดาษช่วยใน
การจับด้วย
การปลูกผักในกระถาง
|
ข้อดีของการปลูกผักในกระถาง คือ
1.ประหยัดพื้นที่ในการปลูก
2.สามารถเคลื่อนย้าย จัดวาง ปรับเปลี่ยนตำแหน่งกระถางผักได้
3.สะดวกต่อการดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต
4.สารถนำผักที่ปลูกในกระถางไปวางตกแต่งในสวนหย่อมหรือจัดเป็นสวนประดับได้
ขั้นตอนการปลูกพืชในกระถาง
1.การเตรียมอุปกรณ์ สามารถใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง, กระถาง,ยางรถยนต์,ถังน้ำ ฯลฯหากกระถางหรือถาชนะใดมีสารปนเปื้อนหรือพวกน้ำมัน พวกสารเคมีต่างๆให้ทำความสะอาดก่อนที่จะนำมาใช้ และให้จัดตกแต่งกระถางหรือภาชนะที่จะนำมาใช้ปลูก เช่น ตัดปาก ตัดก้น หรือทำขอบเพื่อให้กระถางคงทน และสวยงาม การเลือกกระถางปลูกต้องเลือกให้เหมาะสมต่อผักที่จะปลูกกล่าวคือผักที่มีระบบรากลึก ผักที่มีระบบรากตื้นเหมาะกับกระถางที่มีความตื้นไม่มาก
2.การเลือกผักที่จะปลูก การเลือกผักที่จะปลูกมีความสำคัญมาก นอกจากจะเลือกผักที่ปลูกให้เหมาะสมกับกระถางปลูกแล้ว ควรเลือกปลูกผักที่มีการใช้บริโภคภายในครอบครัวเป็นประจำทุกวันก่อน เพราะจะทำให้ผักที่ปลูกนั้นได้รับความสนใจ และมีการนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก และนอกจากผักที่นิยมบริโภคภายในครอบครัวแล้วควรเลือกปลูกผักที่สมาชิกในครอบครัวชอบรับประทานด้วย เพราะจะทำให้ผักนั้นได้รับความสนใจจากสมาชิกในครอบครัวไปด้วย ดั้งนั้น จะเห็นได้ว่าการเลือกผักมีความสำคัญ ไม่ควรปลูกผักที่ไม่มีผู้บริโภคเพราะจะทำให้ผักที่ปลูกนั้นไม่คุ้มค่า
3. การเตรียมดิน ดินที่ใช้ปลูกผักในกระถางต้องเตรียมให้ดีและเหมาะสมกับผักแต่ละชนิด การเตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางสามารถทำได้เองโดยมีส่วนผสม ดั้งนี้
-ดินร่วน 1 ส่วน
-ทราย 1 ส่วน
-ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก 1 ส่วน
-ขี้เก้าแกลบ,ขุยมะพร้าว 1 ส่วน
นำทั้ง 4 ส่วนผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันให้ดีก่อนนำลงปลูก หากกระถางมีรูใหญ่จะดินรั่วออกได้ให้นำหินหรือเศษกระเบื้องวางทับก่อน ถ้าส่วนผสมดังกล่าวไม่สามารถหาได้ไม่สามารถหาได้ อาจใช้ปุ๋ยคอกผสมใบพืชผุ ใบไผ่ผุ ผสมกับดินก็ได้ และหากไม่สะดวกที่จะผสมดินใช้เองสามารถหาซื้อดินผสมเสร็จที่มีขายอยู่ทั่วไปมาใช้ก็ได้ แต่ควรดูส่านผสมของดินให้ดี ถ้าหากมีส่วนผสมของใบก้ามปูหรือเปลือกถั่วจะเหมาะสมกว่าดินที่มีส่วนผสมของแกลบหรือกาบมะพร้าว ดินที่ผสมเสร็จแล้วนำไปบรรจุในกระถางที่เตรียมปลูกผัก การบรรจุไม่ควรให้เต็มกระถางหรือเสมอขอบ ควรเติมหลังจากปลูกผักไปแล้ว จึงจะเพิ่มดินให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
การปลูกผักลงกระถาง ขึ้นอยู่กับชนิดของผักที่จะปลูก คือ สามารถทำได้ทั้งปลูกแบบใช้เมล็ดพันธุ์หว่านหรือหยอดลงกระถางเลยหรือเพาะต้นกล้าอ่อนแล้วจึงนำปลูกลงในกระถางหรือผักบางชนิดสามารถใช้วิธีปักชำลงในกระถางได้เลย
วิธีหว่านหรือหยอดเมล็ด โดยหว่านเมล็ดลงให้กระถางโดยกะระยะห่างของเมล็ดหรือหลุมที่หยอดให้เหมาะสมกับชนิดของผัก ผักที่นิยมปลูกโดยใช้เมล็ดได้แก่ ผักชี,ผักบุ้งจีน,ตั้งโอ๋,ขึ้นฉ่าย,เป็นต้น
วิธีเพาะต้นกล้าต้นอ่อนก่อนปลูก นำต้นกล้าผักที่เพาะเมล็ดได้ระยะเวลาที่พอเหมาะโดยสังเกตจากลักษณะของลำต้นและระบบรากฝอย ถ้าสมบูรณ์ก็สามารถย้ายต้นกล้าผักลงปลูกได้เลยผักที่นิยมปลูกวิธีนี้ได้แก่
ผักคะน้า,ผักกาดขาว,ผักกาดหอม,กะหล่ำปลี,ปูเล่,กะเพรา,โหรพา เป็นต้น
วิธีนำส่วนของผักมาปักชำ ผักที่สามารถนำมาปลุกลงแบบปักชำในกระถางได้เลย เช่น สะระแหน่,ชะพลู,หอมแบ่ง,ตะไคร้ ฯลฯการปักชำต้องดูว่าผักแต่ละชนิดใช้ส่วนใดในการปักชำได้ ผักบางชนิดมีรากลึกกระถางที่ใช้ปักชำควรมีความลึกที่เหมาะสมต่อผักด้วย หรือผักบางชนิดต้องใช้ไม้ปักเพื่อพยุงลำต้นผักให้ตั้งตรงและป้องกันการกระทบกระเทือนเวลารดน้ำในช่วงแรกๆของการปักชำด้วย
การดูแลรักษาผักในกระถาง ผักที่ปลูกในกระถางสามารถดูแลรักษาได้ง่ายโดยคอยรดน้ำให้ดินในกระถางมีความชุ่มชื้นสม่ำเสมอ กำจัดวัชพืช พรวนดิน และใส่ปุ๋ยหากผักมีการเจริญเติบโตไม่ดีควรเปลี่ยนดินเมื่อมีการปลูกผักในครั้งต่อไปหรือปลูกผักชนิดใหม่ในกระถางเดิม ถ้าหากที่ที่วางกระถางอยู่ผักที่ปลูกได้รับแสงไม่เพียงพอสามารถย้ายกระถางไปวางไว้ในที่มีแสงเพียงพอได้
การปลูกผักในกระถางหรือในภาชนะต่างๆ
|
การปลูกผักในกระถาง วิธีการปลูกผักในกระถางนี้ เหมาะกับครอบครัวที่มีบริเวณพื้นบ้านจำกัด หรือบ้านที่นิยมปลูกผักในแบบกึ่งไม้ประดับ
ข้อดีของการปลูกผักในกระถาง คือ
- ประหยัดพื้นที่ในการปลูก
- สามารถ เคลื่อนย้าย จัดวาง ปรับเปลี่ยนตำแหน่งกระถางผักได้
- สะดวกต่อการดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต
- สามารถนำผักที่ปลูกในกระถางไปวางตกแต่งในสวนหย่อม หรือจัดเป็นสวนประดับได้
ขั้นตอนการปลูกผักในกระถาง
1. การเตรียมอุปกรณ์ สามารถใช้วัสดุเหลือใช้ในครัวเรือน เช่น กะละมัง, กระถาง, ยางรถยนต์, ถังน้ำ ฯลฯ หากกระถางหรือภาชนะใดมีสารปนเปื้อน พวกน้ำมัน หรือพวกสารเคมีต่างๆ ให้ทำความสะอาดก่อนที่จะนำมาใช้ และให้จัดตกแต่งกระถาง หรือภาชนะที่ จะนำมาใช้ปลูกผัก เช่น ตัดปาก ตัดกัน หรือทำขอบเพื่อให้กระถางคงทน และสวยงาม การเลือกกระถางปลูก ต้องเลือกให้เหมาะสมต่อผักที่จะปลูก กล่าวคือผักที่มีระบบรากลึก ควรปลูกในกระถางที่มีความลึก ผักที่มีระบบรากตื้นเหมาะกับกระถางที่มีความตื้นไม่มาก
2. การเลือกผักที่จะปลูก การเลือกผักที่จะปลูกมีความสำคัญมาก นอกจากจะเลือกผักที่ปลูกให้เหมาะสมกับกระถางปลูกแล้ว ควรเลือกปลูกผักที่มีการใช้บริโภคภายในครอบครัวเป็นประจำทุกวันก่อน เพราะจะทำให้ผักที่ปลูกนั้นได้รับความสนใจ และมีการนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก และนอกจากผักที่นิยมบริโภคภายในครอบครัวแล้วควรเลือกปลูกผักที่สมาชิกในครอบครัวชอบรับประทานด้วย เพราะจะทำให้ผักนั้นได้รับความสนใจจากสมาชิกในครอบครัวตามไปด้วย ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการเลือกผักมีความสำคัญ ไม่ควรปลูกผักที่ไม่มีผู้บริโภคเพราะจะทำให้ผักที่ปลูกนั้นไม่คุ้มค่า
3. การเตรียมดิน ดินที่ใช้ปลูกผักในกระถางต้องเตรียมให้ดี และเหมาะสมกับผักแต่ละชนิด การเตรียมดินสำหรับปลูกผักในกระถางสามารถทำได้เองโดยมีส่วนผสม ดังนี้
- ดินร่วน 1 ส่วน
- ทราย 1 ส่วน
- ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก 1 ส่วน
- ขี้เถ้าแกลบ, ขยะมะพร้าว 1 ส่วน
นำทั้ง 4 ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันให้ดี ก่อนนำลงปลูก หากกระถางมีรูใหญ่จะดินรั่วออกได้ ให้นำหินหรือเศษกระเบื้องวางทับก่อน ถ้าส่วนผสมดังกล่าวไม่สามารถหาได้ อาจใช้ปุ๋ยคอกผสมใบพืชผุ ใบไผ่ผุ ผสมกับดินก็ได้ และหากไม่สะดวกที่จะผสมดินใช้เอง สามารถหาซื้อดินผสมเสร็จ ที่มีขายอยู่ทั่วไปมาใช้ก็ได้ แต่ควรดูส่วนผสมของดินให้ดี ถ้าหากมีส่วนผสมของใบก้ามปู หรือเปลือกถั่วจะเหมาะสมกว่าดิน ที่มีส่วนผสมของแกลบ หรือกาบมะพร้าว ดินที่ผสมเสร็จแล้วนำไปบรรจุในกระถางที่เตรียมปลูกผัก การบรรจุไม่ควรให้เต็มกระถาง หรือเสมอขอบ ควรเติมหลังจากปลูกผักไปแล้ว จึงจะเพิ่มดินให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
- ดินร่วน 1 ส่วน
- ทราย 1 ส่วน
- ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก 1 ส่วน
- ขี้เถ้าแกลบ, ขยะมะพร้าว 1 ส่วน
นำทั้ง 4 ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันให้ดี ก่อนนำลงปลูก หากกระถางมีรูใหญ่จะดินรั่วออกได้ ให้นำหินหรือเศษกระเบื้องวางทับก่อน ถ้าส่วนผสมดังกล่าวไม่สามารถหาได้ อาจใช้ปุ๋ยคอกผสมใบพืชผุ ใบไผ่ผุ ผสมกับดินก็ได้ และหากไม่สะดวกที่จะผสมดินใช้เอง สามารถหาซื้อดินผสมเสร็จ ที่มีขายอยู่ทั่วไปมาใช้ก็ได้ แต่ควรดูส่วนผสมของดินให้ดี ถ้าหากมีส่วนผสมของใบก้ามปู หรือเปลือกถั่วจะเหมาะสมกว่าดิน ที่มีส่วนผสมของแกลบ หรือกาบมะพร้าว ดินที่ผสมเสร็จแล้วนำไปบรรจุในกระถางที่เตรียมปลูกผัก การบรรจุไม่ควรให้เต็มกระถาง หรือเสมอขอบ ควรเติมหลังจากปลูกผักไปแล้ว จึงจะเพิ่มดินให้อยู่ในระดับที่ต้องการ
4. การปลูกผักลงกระถาง ขึ้นอยู่กับชนิดของผักที่จะปลูก คือ สามารถทำได้ทั้งปลูกแบบใช้เมล็ดพันธุ์หว่าน หรือหยอดลงกระถางเลย หรือ เพราะต้นกล้าก่อนแล้วจึงนำลงปลูกในกระถาง หรือผักบางชนิดสามารถใช้วิธีปักชำลงในกระถางได้เลย
วิธีหว่านหรือหยอดเมล็ด โดยหว่านเมล็ดลงให้กระถางโดยกะระยะห่างของเมล็ด หรือหลุมที่หยอดให้เหมาะสมกับชนิดของผัก ผักที่นิยมปลูกโดยใช้เมล็ดได้แก่ ผักชี, ผักบุ้งจีน, ตั้งโอ๋, ขึ้นฉ่าย เป็นต้น
วิธีเพาะต้นกล้าผักก่อนปลูก นำต้นกล้าผักที่เพาะเมล็ดได้ระยะเวลาที่พอเหมาะ โดยสังเกตจากลักษณะของลำต้น และระบบรากฝอย ถ้าสมบูรณ์ก็สามารถย้ายต้นกล้าผักลงปลูกได้เลย ผักที่นิยมปลูกวิธีนี้ได้แก่ ผักคะน้า, ผักกาดขาว, ผักกาดเขียว, ผักกาดหอม, กะหล่ำปลี, ปูเล่, กะเพรา, โหระพา เป็นต้น
วิธีนำส่วนของผักมาปักชำ ผักที่สามารถนำมาลงปลูกแบบปักชำในกระถางได้เลย เช่น สะระแหน่, ชะพลู, หอมแบ่ง, ตะไคร้ ฯลฯ
การปักชำต้องดูว่าผักแต่ละชนิดใช้ส่วนใดในการปักชำได้ ผักบางชนิดมีรากลึกกระถางที่ใช้ปักชำควรมีความลึกที่เหมาะสมต่อผักด้วย หรือผักบางชนิดต้องใช้ไม้ปัก เพื่อพยุงลำต้นผักให้ตั้งตรงและป้องกันการกระทบกระเทือนเวลารดน้ำ ในช่วงแรกๆของการปักชำด้วย
วิธีหว่านหรือหยอดเมล็ด โดยหว่านเมล็ดลงให้กระถางโดยกะระยะห่างของเมล็ด หรือหลุมที่หยอดให้เหมาะสมกับชนิดของผัก ผักที่นิยมปลูกโดยใช้เมล็ดได้แก่ ผักชี, ผักบุ้งจีน, ตั้งโอ๋, ขึ้นฉ่าย เป็นต้น
วิธีเพาะต้นกล้าผักก่อนปลูก นำต้นกล้าผักที่เพาะเมล็ดได้ระยะเวลาที่พอเหมาะ โดยสังเกตจากลักษณะของลำต้น และระบบรากฝอย ถ้าสมบูรณ์ก็สามารถย้ายต้นกล้าผักลงปลูกได้เลย ผักที่นิยมปลูกวิธีนี้ได้แก่ ผักคะน้า, ผักกาดขาว, ผักกาดเขียว, ผักกาดหอม, กะหล่ำปลี, ปูเล่, กะเพรา, โหระพา เป็นต้น
วิธีนำส่วนของผักมาปักชำ ผักที่สามารถนำมาลงปลูกแบบปักชำในกระถางได้เลย เช่น สะระแหน่, ชะพลู, หอมแบ่ง, ตะไคร้ ฯลฯ
การปักชำต้องดูว่าผักแต่ละชนิดใช้ส่วนใดในการปักชำได้ ผักบางชนิดมีรากลึกกระถางที่ใช้ปักชำควรมีความลึกที่เหมาะสมต่อผักด้วย หรือผักบางชนิดต้องใช้ไม้ปัก เพื่อพยุงลำต้นผักให้ตั้งตรงและป้องกันการกระทบกระเทือนเวลารดน้ำ ในช่วงแรกๆของการปักชำด้วย
5. การดูแลรักษาผักในกระถาง ผักที่ปลูกในกระถางสามารถทำการดูแลรักษาได้ง่าย โดยคอยรดน้ำให้ดินในกระถางในมีความชุ่มชื้นสม่ำเสมอ กำจัดวัชพืช พรวนดิน และใส่ปุ๋ยหากผักมีเจริญเติบโตไม่ดี และควรเปลี่ยนดินเมื่อมีการปลูกผักในครั้งต่อไป หรือปลูกผักชนิดใหม่ในกระถางเดิม ถ้าหากที่ที่วางกระถางอยู่ผักที่ปลูกได้รับแสงไม่เพียงพอ สามารถย้ายกระถางไปวางไว้ในที่มีแสงเพียงพอได้
6. การเก็บเกี่ยว สำหรับผักที่ปลูกในกระถาง หากเป็นผักที่บริโภคในส่วนของใบ ให้เก็บใบล่างไปก่อน เหลือยอดบนไว้ให้เจริญต่อไป เช่น ผักกาด คะน้า ปูเล่ ถ้าเป็นผักที่ใช้ส่วนยอดอ่อนบริโภค ควรเลือกเก็บเฉพาะยอดเท่านั้น จะทำให้ผักมีการแตกยอดอ่อนเจริญเติบโตให้เราได้ใช้บริโภคอีก เช่น สะระแหน่, กะเพรา, โหระพา ฯลฯ
ข้อควรคำนึง ในการปลูกผักในกระถาง ต้องเลือกผักที่ครอบครัวจำเป็นต้องใช้บริโภค เลือกวัสดุเหลือใช้มาใช้เป็นวัสดุปลูกผัก เรื่องของชนิดของผักกับกระถางปลูก ควรจะพิจารณาถึง การหยั่งรากตื้น ของพืชผัก พืชผักที่หยั่งรากตื้น และสามารถ ปลูกลงภาชนะ ปลูกชนิดต่าง ๆ และชนิดห้อยแขวนได้ดี และมีความลึกไม่เกิน 10 เซนติเมตร ดังต่อไปนี้คือ
- ผักบุ้งจีน คะน้าจีน ผักกาดกวางตุ้ง (เขียวและขาว) ผักกาดฮ่องแต้ ผักกาดหอม ผักกาดขาวชนิดไม่ห่อ (ขาวเล็ก ขาวใหญ่) ตั้งโอ๋ ปวยเล้ง หอมแบ่ง (ต้นหอม) ผักชี ขึ้นฉ่าย ผักโขมจีน กระเทียมใบ (Leek) กุยช่าย กระเทียมหัว ผักชีฝรั่ง บัวบก สะระแหน่ แมงลัก โหระพา (เพาะเมล็ด) กะเพรา (เพาะเมล็ด) พริกขี้หนู ตะไคร้ ชะพลู หอมแดง หอมหัวใหญ่ หัวผักกาดแดง (แรดิช)
- วัสดุที่สามารถนำมาทำเป็นภาชนะปลูกอาจดัดแปลงจากสิ่งที่ใช้แล้ว เช่น ยางรถยนต์เก่า กะละมัง ปลอกซีเมนต์ เป็นต้น สำหรับภาชนะแขวน อาจใช้กาบมะพร้าว กระถาง หรือเปลือกไม้
การปลูกผักในกระถาง หรือในภาชนะ
วิธีการปลูกผักในภาชนะแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี คือ
1. เพาะเมล็ดด้วยการหว่านแล้วถอนแยกหรือหยอดเป็นแถวแล้วถอนแยก
ผักบุ้งจีน, คะน้าจีน, ผักกาดขาวกวางตุ้ง, ผักกาดเขียวกวางตุ้ง, ผักฮ่องเต้ (กวางตุ้งไต้หวัน), ตั้งโอ๋, ปวยเล้ง, ผักกาดหอม, ผักโขมจีน, ผักชี, ขึ้นฉ่าย, โหระพา, กระเทียมใบ, กุยฉ่าย, หัวผักกาดแดง, กะเพรา, แมงลัก, ผักชีฝรั่ง, หอมหัวใหญ่
ผักบุ้งจีน, คะน้าจีน, ผักกาดขาวกวางตุ้ง, ผักกาดเขียวกวางตุ้ง, ผักฮ่องเต้ (กวางตุ้งไต้หวัน), ตั้งโอ๋, ปวยเล้ง, ผักกาดหอม, ผักโขมจีน, ผักชี, ขึ้นฉ่าย, โหระพา, กระเทียมใบ, กุยฉ่าย, หัวผักกาดแดง, กะเพรา, แมงลัก, ผักชีฝรั่ง, หอมหัวใหญ่
2. ปักชำด้วยต้น และด้วยหัว
หอมแบ่ง (หัว), ผักชีฝรั่ง, กระเทียมหัว (ใช้หัวปลูก), หอมแดง (หัว), บัวบก (ไหล), ตะไคร้ (ต้น), สะระแหน่ (ยอด), ชะพลู (ต้น), โหระพา (กิ่งอ่อน), กุยช่าย (หัว), กะเพรา (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน), แมงลัก (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน) ** มีบางพืชที่ปลูกด้วยหัว หรือส่วนของต้นก็ได้หรือปลูกด้วยเมล็ดก็ได้ ดังนั้นจึงมีชื่อผักที่ซ้ำกันทั้งข้อ 1 และ 2
หอมแบ่ง (หัว), ผักชีฝรั่ง, กระเทียมหัว (ใช้หัวปลูก), หอมแดง (หัว), บัวบก (ไหล), ตะไคร้ (ต้น), สะระแหน่ (ยอด), ชะพลู (ต้น), โหระพา (กิ่งอ่อน), กุยช่าย (หัว), กะเพรา (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน), แมงลัก (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน) ** มีบางพืชที่ปลูกด้วยหัว หรือส่วนของต้นก็ได้หรือปลูกด้วยเมล็ดก็ได้ ดังนั้นจึงมีชื่อผักที่ซ้ำกันทั้งข้อ 1 และ 2
การปฏิบัติดูแลรักษาผักในกระถาง หรือในภาชนะ
การดูแลรักษาด้วยความเอาใจใส่จะช่วยให้ผักเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์จนถึงระยะเก็บเกี่ยว การดูแลรักษาดังกล่าว ได้แก่
1. การให้น้ำ
การปลูกผักจำเป็นต้องให้น้ำอย่างเพียงพอ การให้น้ำผักควรรดน้ำในช่วง เช้า – เย็น ไม่ควรรดตอนแดดจัด และรดน้ำแต่พอชุ่มอย่าให้โชก
การปลูกผักจำเป็นต้องให้น้ำอย่างเพียงพอ การให้น้ำผักควรรดน้ำในช่วง เช้า – เย็น ไม่ควรรดตอนแดดจัด และรดน้ำแต่พอชุ่มอย่าให้โชก
2. การให้ปุ๋ย มี 2 ระยะ คือ
2.1 ใส่รองพื้นคือการใส่เมื่อเวลาเตรียมดิน หรือรองก้นหลุมก่อนปลูกปุ๋ยที่ใส่รองพื้นควรเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก คลุกในดินให้ทั่ว ก่อน ปลูกเพื่อ ปรับโครงสร้างดินให้โปร่งร่วนซุย นอกจากนั้นยังช่วยในการ อุ้มน้ำและรักษาความชื้น ของดินให้เหมาะสม กับการ เจริญเติบโตของพืชด้วย
2.2 การใส่ปุ๋ยบำรุง ควรจะใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อย้ายกล้าไปปลูกจนกล้าตั้งตัวได้แล้ว และใส่ครั้งที่ 2 หลังจากใส่ครั้งแรกประมาณ 2 – 3 สัปดาห์ การใส่ให้โรยบาง ๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยอยู่ชิดต้น เพราะจะทำให้ ผักตาย ได้ เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วให้พรวนดินและรดน้ำทันที สูตรปุ๋ยที่ใช้กับพืชผัก ได้แก่ ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต สำหรับบำรุงต้น และใบ และปุ๋ยสูตร 15-15-15 และ 12-24-12 สำหรับเร่งการออกดอกและผล
2.1 ใส่รองพื้นคือการใส่เมื่อเวลาเตรียมดิน หรือรองก้นหลุมก่อนปลูกปุ๋ยที่ใส่รองพื้นควรเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก คลุกในดินให้ทั่ว ก่อน ปลูกเพื่อ ปรับโครงสร้างดินให้โปร่งร่วนซุย นอกจากนั้นยังช่วยในการ อุ้มน้ำและรักษาความชื้น ของดินให้เหมาะสม กับการ เจริญเติบโตของพืชด้วย
2.2 การใส่ปุ๋ยบำรุง ควรจะใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อย้ายกล้าไปปลูกจนกล้าตั้งตัวได้แล้ว และใส่ครั้งที่ 2 หลังจากใส่ครั้งแรกประมาณ 2 – 3 สัปดาห์ การใส่ให้โรยบาง ๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยอยู่ชิดต้น เพราะจะทำให้ ผักตาย ได้ เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วให้พรวนดินและรดน้ำทันที สูตรปุ๋ยที่ใช้กับพืชผัก ได้แก่ ยูเรีย แอมโมเนียซัลเฟต สำหรับบำรุงต้น และใบ และปุ๋ยสูตร 15-15-15 และ 12-24-12 สำหรับเร่งการออกดอกและผล
3. การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ควรบำรุงรักษาต้นพืชให้แข็งแรง โดยการกำจัดวัชพืช การให้น้ำอย่างเพียงพอและใส่ปุ๋ยตามจำนวนที่กำหนดเพื่อให้ผักเจริญเติบโต แข็งแรง ทนต่อโรคและแมลง หากมีโรคและ แมลง ระบาด มากควรใช้สารธรรมชาติ หรือใช้วิธีกลต่าง ๆ ในการป้องกันกำจัด เช่น หนอนต่าง ๆ ใช้มือจับออก ใช้พริกไทยป่นผสม น้ำฉีดพ่น ใช้น้ำคั้นจากใบหรือเมล็ดสะเดาถ้าเป็นพวกเพลี้ย เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย และเพลี้ยจักจั่น ให้ใช้น้ำยา ล้างจาน 15 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นใต้ใบเวลาเย็น ถ้าเป็นพวกมด หอย และทากให้ใช้ปูนขาวโรยบาง ๆ ลงบริเวณพื้นดิน
ควรบำรุงรักษาต้นพืชให้แข็งแรง โดยการกำจัดวัชพืช การให้น้ำอย่างเพียงพอและใส่ปุ๋ยตามจำนวนที่กำหนดเพื่อให้ผักเจริญเติบโต แข็งแรง ทนต่อโรคและแมลง หากมีโรคและ แมลง ระบาด มากควรใช้สารธรรมชาติ หรือใช้วิธีกลต่าง ๆ ในการป้องกันกำจัด เช่น หนอนต่าง ๆ ใช้มือจับออก ใช้พริกไทยป่นผสม น้ำฉีดพ่น ใช้น้ำคั้นจากใบหรือเมล็ดสะเดาถ้าเป็นพวกเพลี้ย เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย และเพลี้ยจักจั่น ให้ใช้น้ำยา ล้างจาน 15 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นใต้ใบเวลาเย็น ถ้าเป็นพวกมด หอย และทากให้ใช้ปูนขาวโรยบาง ๆ ลงบริเวณพื้นดิน
4. การเก็บเกี่ยว
การเก็บเกี่ยวผักควรเก็บในเวลาเช้าจะทำให้ได้ผักสดรสดี และหากยังไม่ได้ใช้ให้ล้างให้สะอาด และนำเก็บไว้ในตู้เย็น สำหรับผัก ประเภทผลควรเก็บในขณะที่ผลไม่แก่จัดจะได้ผลที่มีรสดี และจะทำให้ผลดก หากปล่อยให้ผลแก่คาต้น ต่อไปจะออกผลน้อยลง
สำหรับในผักใบหลายชนิด เช่น หอมแบ่ง ผักบุ้งจีน คะน้า กะหล่ำปลี การแบ่งเก็บผักที่สดอ่อน หรือโตได้ขนาดแล้ว โดยยังคง เหลือ ลำต้นและรากไว้ไม่ถอนออกทั้งต้น รากหรือต้นที่เหลืออยู่จะสามารถงอกงามให้ผล ได้อีกหลายครั้งทั้งนี้จะต้อง มีการดูแล รักษา ให้น้ำและปุ๋ยอยู่ การปลูกพื้นหมุนเวียนสลับชนิดหรือปลูกผัก หลายชนิดในแปลงเดียวกันและปลูกผัก ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้นบ้าง ยาวบ้างคละกันในแปลงเดียวกัน หรือปลูกผักชนิดเดียวกันแต่ทยอยปลูกครั้งละ 3-5 ต้น หรือประมาณว่าพอรับประทาน ได้ใน ครอบครัว ในแต่ละครั้งที่เก็บเกี่ยว ก็จะทำให้ผู้ปลูกมีผักสดเก็บรับประทานได้ทุกวันตลอดปี
การเก็บเกี่ยวผักควรเก็บในเวลาเช้าจะทำให้ได้ผักสดรสดี และหากยังไม่ได้ใช้ให้ล้างให้สะอาด และนำเก็บไว้ในตู้เย็น สำหรับผัก ประเภทผลควรเก็บในขณะที่ผลไม่แก่จัดจะได้ผลที่มีรสดี และจะทำให้ผลดก หากปล่อยให้ผลแก่คาต้น ต่อไปจะออกผลน้อยลง
สำหรับในผักใบหลายชนิด เช่น หอมแบ่ง ผักบุ้งจีน คะน้า กะหล่ำปลี การแบ่งเก็บผักที่สดอ่อน หรือโตได้ขนาดแล้ว โดยยังคง เหลือ ลำต้นและรากไว้ไม่ถอนออกทั้งต้น รากหรือต้นที่เหลืออยู่จะสามารถงอกงามให้ผล ได้อีกหลายครั้งทั้งนี้จะต้อง มีการดูแล รักษา ให้น้ำและปุ๋ยอยู่ การปลูกพื้นหมุนเวียนสลับชนิดหรือปลูกผัก หลายชนิดในแปลงเดียวกันและปลูกผัก ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้นบ้าง ยาวบ้างคละกันในแปลงเดียวกัน หรือปลูกผักชนิดเดียวกันแต่ทยอยปลูกครั้งละ 3-5 ต้น หรือประมาณว่าพอรับประทาน ได้ใน ครอบครัว ในแต่ละครั้งที่เก็บเกี่ยว ก็จะทำให้ผู้ปลูกมีผักสดเก็บรับประทานได้ทุกวันตลอดปี
พรรณไม้ที่นิยมปลูกในกระถาง
|
พรรณไม้ที่ใช้เป็นไม้กระถางได้ดีส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้ที่ไม่มีรากแก้ว นอกจากจะนำมาตัดรากแก้วออกทำเป็นไม้แคระ การแบ่งกลุ่มของไม้กระถางอย่างกว้างๆ ตามลักษณะความต้องการแสงของต้นไม้ ได้ดังนี้
พรรณไม้กระถางในร่ม (Indoor Plants)
เป็นพันธุ์ไม้ที่นิยมปลูกประดับในสถานที่ร่ม หรือในอาคาร เช่น ว่านต่างๆ บอน เฟิร์น สาวน้อยประแป้ง โกสน พลูด่าง เดหลี วาสนา กำมะหยี่ หมากผู้หมากเมีย กล็อกซีเนีย อาฟริกันไวโอเลท ฯลฯ พรรณไม้เหล่านี้ต้องการแสงแดดเพียง 20–40% ชอบอากาศเย็น เป็นไม้ใบที่บอบบาง บางชนิดเปราะ บางชนิดเหนียว ใบเป็นมัน หรือสีต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวมีลายใบ
พรรณไม้กระถางกลางแจ้ง (Outdoor Plants)
เป็นพรรณไม้ที่นิยมปลูกประดับสวน ริมรั้ว ริมอาคาร ระเบียง ที่นิยมปลูกเลี้ยงกันมาก เช่น โป๊ยเซียน เบญจมาศ กุหลาบ ชวนชม เฟื่องฟ้า ว่านสี่ทิศ คริสต์มาส ดาวเรือง เป็นต้น เป็นกลุ่มไม้ที่ชอบแสงแดด ปลูกกลางแจ้งหรือร่มก็ได้ แต่จะต้องได้รับแสงแดดมากกว่า 50% ขึ้นไป สามารถปรับตัวได้ระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ถ้านำไปประดับในที่ร่มนานเกินไปจะไม่เจริญเติบโตต่อ
ความหมายของไม้กระถาง
ไม้กระถาง หมายถึง การนำพรรณไม้บางชนิดมาปลูกลงในกระถาง หรือภาชนะสวยงาม จุดประสงค์เพื่อใช้เป็นไม้ประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ที่มีพื้นที่จำกัด และสามารถเคลื่อนย้ายไปประดับในสถานที่ต่างๆ ได้ง่าย สะดวกในการดูแลรักษา และโยกย้ายสับเปลี่ยนพรรณไม้ได้ตามความพอใจ ในปัจจุบันไม้ประดับกระถางเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ที่มีพื้นที่ราคาแพง จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้คุ้มค่าที่สุด จึงต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้มีชีวิตชีวาด้วยการใช้ไม้ประดับกระถางแทนสภาพอื่นที่ขาดหายไป
ประโยชน์ของไม้กระถาง
1. ประหยัดพื้นที่ในการปลูก สามารถตั้งหรือแขวนไว้ในพื้นที่ที่จำกัดได้
2. สะดวกในการโยกย้าย และสับเปลี่ยนพรรณไม้เพื่อประดับตกแต่งก็ทำได้ง่าย
3. ภาชนะปลูกสามารถดัดแปลงมาจากวัสดุเหลือใช้ได้ เช่น กระป๋องพลาสติก และขวดแก้วรูปทรงต่างๆ
4. ไม้กระถางสะดวกในการขยายพันธุ์ ไม่เปลืองวัสดุปลูก และเวลา
5. ไม่แพร่กระจายโรคเร็วเหมือนปลูกในแปลงบนพื้นดิน หากมีอาการผิดปกติเนื่องจากโรคและแมลงก็แก้ไขได้ง่าย
6. คงสภาพและจัดรูปทรงของต้นไม้ได้ดี สามารถนำไปใช้ประดับตกแต่งได้ทุกที่ และสามารถเปลี่ยนแปลงความสวยงามได้ตามต้องการ
7. การดูแลบำรุงรักษาทำได้ง่ายไม่สิ้นเปลืองเวลามาก
เทคนิคการปลูกไม้กระถางให้สวยงาม
|
ความหมายของไม้กระถาง
ไม้กระถาง หมายถึง การนำพรรณไม้บางชนิดมาปลูกลงในกระถาง หรือภาชนะสวยงาม จุดประสงค์เพื่อใช้เป็นไม้ประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ที่มีพื้นที่จำกัด และสามารถเคลื่อนย้ายไปประดับในสถานที่ต่างๆ ได้ง่าย สะดวกในการดูแลรักษา และโยกย้ายสับเปลี่ยนพรรณไม้ได้ตามความพอใจ ในปัจจุบันไม้ประดับกระถางเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ที่มีพื้นที่ราคาแพง จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้คุ้มค่าที่สุด จึงต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้มีชีวิตชีวาด้วยการใช้ไม้ประดับกระถางแทนสภาพอื่นที่ขาดหายไป
ประโยชน์ของไม้กระถาง
-ประหยัดพื้นที่ในการปลูก สามารถตั้งหรือแขวนไว้ในพื้นที่ที่จำกัดได้
-สะดวกในการโยกย้าย และสับเปลี่ยนพรรณไม้เพื่อประดับตกแต่งก็ทำได้ง่าย
-ภาชนะปลูกสามารถดัดแปลงมาจากวัสดุเหลือใช้ได้ เช่น กระป๋องพลาสติก และขวดแก้วรูปทรงต่างๆ
-ไม้กระถางสะดวกในการขยายพันธุ์ ไม่เปลืองวัสดุปลูก และเวลา
-ไม่แพร่กระจายโรคเร็วเหมือนปลูกในแปลงบนพื้นดิน หากมีอาการผิดปกติเนื่องจากโรคและแมลงก็แก้ไขได้ง่าย
-คงสภาพและจัดรูปทรงของต้นไม้ได้ดี สามารถนำไปใช้ประดับตกแต่งได้ทุกที่ และสามารถเปลี่ยนแปลงความสวยงามได้ตามต้องการ
-การดูแลบำรุงรักษาทำได้ง่ายไม่สิ้นเปลืองเวลามาก พรรณไม้ที่นิยมปลูกในกระถาง พรรณไม้ที่ใช้เป็นไม้กระถางได้ดีส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้ที่ไม่มีรากแก้ว นอกจากจะนำมาตัดรากแก้วออกทำเป็นไม้แคระ การแบ่งกลุ่มของไม้กระถางอย่างกว้างๆ ตามลักษณะความต้องการแสงของต้นไม้ ได้ดังนี้
พรรณไม้กระถางในร่ม (Indoor Plants)
เป็นพันธุ์ไม้ที่นิยมปลูกประดับในสถานที่ร่ม หรือในอาคาร เช่น ว่านต่างๆ บอน เฟิร์น สาวน้อยประแป้ง โกสน พลูด่าง เดหลี วาสนา กำมะหยี่ หมากผู้หมากเมีย กล็อกซีเนีย อาฟริกันไวโอเลท ฯลฯ พรรณไม้เหล่านี้ต้องการแสงแดดเพียง 20 – 40% ชอบอากาศเย็น เป็นไม้ใบที่บอบบาง บางชนิดเปราะ บางชนิดเหนียว ใบเป็นมัน หรือสีต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวมีลายใบ
พรรณไม้กระถางกลางแจ้ง (Outdoor Plants)
ไม้กระถาง หมายถึง การนำพรรณไม้บางชนิดมาปลูกลงในกระถาง หรือภาชนะสวยงาม จุดประสงค์เพื่อใช้เป็นไม้ประดับ ตกแต่งอาคารสถานที่ที่มีพื้นที่จำกัด และสามารถเคลื่อนย้ายไปประดับในสถานที่ต่างๆ ได้ง่าย สะดวกในการดูแลรักษา และโยกย้ายสับเปลี่ยนพรรณไม้ได้ตามความพอใจ ในปัจจุบันไม้ประดับกระถางเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในเมืองใหญ่ ที่มีพื้นที่ราคาแพง จำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้คุ้มค่าที่สุด จึงต้องสร้างสภาพแวดล้อมให้มีชีวิตชีวาด้วยการใช้ไม้ประดับกระถางแทนสภาพอื่นที่ขาดหายไป
ประโยชน์ของไม้กระถาง
-ประหยัดพื้นที่ในการปลูก สามารถตั้งหรือแขวนไว้ในพื้นที่ที่จำกัดได้
-สะดวกในการโยกย้าย และสับเปลี่ยนพรรณไม้เพื่อประดับตกแต่งก็ทำได้ง่าย
-ภาชนะปลูกสามารถดัดแปลงมาจากวัสดุเหลือใช้ได้ เช่น กระป๋องพลาสติก และขวดแก้วรูปทรงต่างๆ
-ไม้กระถางสะดวกในการขยายพันธุ์ ไม่เปลืองวัสดุปลูก และเวลา
-ไม่แพร่กระจายโรคเร็วเหมือนปลูกในแปลงบนพื้นดิน หากมีอาการผิดปกติเนื่องจากโรคและแมลงก็แก้ไขได้ง่าย
-คงสภาพและจัดรูปทรงของต้นไม้ได้ดี สามารถนำไปใช้ประดับตกแต่งได้ทุกที่ และสามารถเปลี่ยนแปลงความสวยงามได้ตามต้องการ
-การดูแลบำรุงรักษาทำได้ง่ายไม่สิ้นเปลืองเวลามาก พรรณไม้ที่นิยมปลูกในกระถาง พรรณไม้ที่ใช้เป็นไม้กระถางได้ดีส่วนใหญ่เป็นพรรณไม้ที่ไม่มีรากแก้ว นอกจากจะนำมาตัดรากแก้วออกทำเป็นไม้แคระ การแบ่งกลุ่มของไม้กระถางอย่างกว้างๆ ตามลักษณะความต้องการแสงของต้นไม้ ได้ดังนี้
พรรณไม้กระถางในร่ม (Indoor Plants)
เป็นพันธุ์ไม้ที่นิยมปลูกประดับในสถานที่ร่ม หรือในอาคาร เช่น ว่านต่างๆ บอน เฟิร์น สาวน้อยประแป้ง โกสน พลูด่าง เดหลี วาสนา กำมะหยี่ หมากผู้หมากเมีย กล็อกซีเนีย อาฟริกันไวโอเลท ฯลฯ พรรณไม้เหล่านี้ต้องการแสงแดดเพียง 20 – 40% ชอบอากาศเย็น เป็นไม้ใบที่บอบบาง บางชนิดเปราะ บางชนิดเหนียว ใบเป็นมัน หรือสีต่างๆ ส่วนใหญ่จะมีสีเขียวมีลายใบ
พรรณไม้กระถางกลางแจ้ง (Outdoor Plants)
เป็นพรรณไม้ที่นิยมปลูกประดับสวน ริมรั้ว ริมอาคาร ระเบียง ที่นิยมปลูกเลี้ยงกันมาก เช่น โป๊ยเซียน เบญจมาศ กุหลาบ ชวนชม เฟื่องฟ้า ว่านสี่ทิศ คริสต์มาส ดาวเรือง เป็นต้น เป็นกลุ่มไม้ที่ชอบแสงแดด ปลูกกลางแจ้งหรือร่มก็ได้ แต่จะต้องได้รับแสงแดดมากกว่า 50% ขึ้นไป สามารถปรับตัวได้ระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น ถ้านำไปประดับในที่ร่มนานเกินไปจะไม่เจริญเติบโตต่อ
กระถางหรือภาชนะปลูก
ชนิดของกระถาง ประกอบไปด้วยชนิดต่างๆ เช่น กระถางดินเผา กระเคลือบ กระถางลายคราม กระถางพลาสติก กระถางเซรามิค รวมถึงภาชนะอื่นๆกระถางดินเผา
ข้อดี คือ หาง่าย ราคาไม่แพงมาก ลักษณะของกระถางมีรูพรุนซึ่งช่วยระบายอากาศถ่ายเทความชื้นของดินและเครื่องปลูกได้ดี ทำให้รากพืชได้รับออกซิเจนเพียงพอ และเจริญเติบโตได้ดีทำให้อุณหภูมิของเครื่องปลูกไม่สูงเกินไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูร้อน สามารถทำลายและกำจัดศัตรูพืชได้ง่ายโดยการต้ม อบไอน้ำ หรือรมด้วยสารเคมีโดยไม่เสียรูปทรง
ข้อเสีย คือ มีน้ำหนักมากและราคาแพงเมื่อเทียบกับกระถางพลาสติก แตกง่าย เมื่อใช้ไปนานๆ แล้วจะมีตะไคร่น้ำขึ้นรอบกระถาง ทำให้ดูสกปรก และล้างทำความสะอาดยากกว่ากระถางพลาสติก
กระถางพลาสติก
ข้อดี คือ ราคาถูก น้ำหนักเบา ทำความสะอาดง่าย ไม่มีปัญหาเรื่องตะไคร่น้ำ เก็บความชื้นได้ดีกว่ากระถางดินเผา ทำให้เครื่องปลูกแห้งช้า ทำให้ไม่ต้องรดน้ำบ่อยนัก
ข้อเสีย คือ เนื่องจากลักษณะของกระถางทึบไม่มีรูพรุนทำให้อากาศถ่ายเทไม่สะดวกถ้ารดน้ำมากจะทำให้น้ำขังแฉะ อาจจะทำให้รากพืชเน่าตายได้ อุณหภูมิของเครื่องปลูกสูงมากในฤดูร้อนโดยเฉพาะกระถางพลาสติกสีดำ
กระถางที่ทำจากวัสดุอื่น ซึ่งได้แก่ กระถางไม้ กระถางเคลือบ กระถางลายคราม กระถางดังกล่าวมีลักษณะต่างกัน จุดประสงค์เพื่อให้เกิดความสวยงามเวลานำไปตั้งหรือแขวนประดับตามสถานที่ต่างๆ
กระถางประดับที่ไม่ใช้ปลูกต้นไม้โดยตรง คือ กระถางประดับที่มีความสวยงาม หรือภาชนะที่สามารถใช้รองรับหรือเอากระถางปลูกต้นไม้ใส่ลงไปเพื่อให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น เช่น กระบุง ตะกร้าไม้ไผ่สาน หวาย อลูมิเนียม กระเบื้องเคลือบ หรืออื่นๆ กระถางชนิดนี้เน้นความสวยงามเป็นหลัก เพราะส่วนใหญ่นำไปใช้ตกแต่งภายในอาคาร บ้านเรือน โรงแรม สำนักงาน หรือสถานที่อื่นๆ ส่วนมากจะมีราคาแพง การใช้งานต้องถนุถนอมหลีกเลี่ยงการโดนน้ำโดยเฉพาะกระถางประเภทที่ทำด้วยไม้ไผ่สาน หวาย จะทำให้ใช้งานได้นานขึ้น ขนาดและรูปทรงของกระถาง ขนาดของกระถางโดยทั่วไปจะใช้ตั้งแต่ขนาด 6นิ้ว 8นิ้ว 10นิ้ว จนถึงขนาด 12นิ้ว ถ้าเป็นกระถางดินเผาขนาดไม่ควรจะเกิน 12 นิ้ว เพราะเกินขนาดที่ดินเผาจะยึดเกาะได้แข็งแรงพอ และมักจะแตกหักได้ง่าย ถ้าจำเป็นต้องใช้ขนาดที่ใหญ่กว่านี้ ควรเลือกกระถางจำพวกกระถางเคลือบจะดีกว่า
กระถางมาตรฐานเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว กระถางมาตรฐานทั่วไป (Standard Pot) เป็นกระถางที่มีปากกว้าง ก้นกระถางแคบ โดยที่ปากกระถางจะมีความกว้างของเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับความสูงหรือความลึกของกระถาง เช่น กระถาง 6นิ้ว จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง 6นิ้ว และมีความสูงหรือความลึก 6นิ้ว เช่นเดียวกัน กระถางชนิดนี้ใช้ปลูกต้นไม้ทั่วๆไปไม่ว่าจะเป็น ไม้อายุสั้น หรือไม้ประดับที่มีอายุยาวนาน เช่น กุหลาบ ได้เพราะมีวัสดุหรือเครื่องปลูกมากพอที่ระบบรากจะเจริญเติบโตได้ ความลึกของกระถางจะช่วยให้สามารถพยุงพุ่มต้นได้ดี แต่มักจะมีปัญหาเรื่องดินแฉะ หากรูระบายน้ำอุดตัน ทำให้ระบบรากมีปัญหาได้
กระถางเตี้ย กระถางเตี้ย (Azalea Pots) มีลักษณะคล้ายทรงกระถางมาตรฐานทั่วไปแต่จะมีความลึกน้อยกว่า คือ ความลึกของกระถางเท่ากับพื้นที่ของเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง เหมาะสำหรับไม้ดอกมีพุ่มต้น และดอกชิดแน่น แต่ต้นเตี้ย เช่น กล็อกซีเนีย (Gloxinia) และอาฟริกันไวโอเลท (African Violet) เนื่องจากกระถางชนิดนี้มีลักษณะเตี้ย ก้นกระถางกว้างกว่ากระถางแบบมาตรฐาน ทำให้ต้นไม่ล้มง่ายมีความมั่นคง และดูสวยงามไม่เปลืองวัสดุปลูก
กระถางถาด กระถางถาด (Pans) เป็นกระถางก้นตื้น คือ ความลึกหรือความสูงของกระถางจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง เช่น ปากกระถางกว้าง 8 นิ้ว แต่จะลึกเพียง 4 นิ้ว เป็นต้น กระถางถาด หรือ กระถางก้นตื้นนี้เหมาะสำหรับปลูกไม้หัว และไม้ประดับบางชนิดที่มีพุ่มเตี้ย และแผ่กว้าง เช่น ต้นคริสมาส นอกจากนี้กระถางยังใช้เป็นภาชนะเพาะเมล็ดพันธุ์ได้ดีอีกด้วย เนื่องจากมีก้นตื้นทำให้ดินเพาะเมล็ดไม่แฉะ ไม่เปลืองดินเพาะ น้ำหนักเบาเคลื่อนย้ายสะดวก
ชนิดของกระถาง ประกอบไปด้วยชนิดต่างๆ เช่น กระถางดินเผา กระเคลือบ กระถางลายคราม กระถางพลาสติก กระถางเซรามิค รวมถึงภาชนะอื่นๆกระถางดินเผา
ข้อดี คือ หาง่าย ราคาไม่แพงมาก ลักษณะของกระถางมีรูพรุนซึ่งช่วยระบายอากาศถ่ายเทความชื้นของดินและเครื่องปลูกได้ดี ทำให้รากพืชได้รับออกซิเจนเพียงพอ และเจริญเติบโตได้ดีทำให้อุณหภูมิของเครื่องปลูกไม่สูงเกินไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูร้อน สามารถทำลายและกำจัดศัตรูพืชได้ง่ายโดยการต้ม อบไอน้ำ หรือรมด้วยสารเคมีโดยไม่เสียรูปทรง
ข้อเสีย คือ มีน้ำหนักมากและราคาแพงเมื่อเทียบกับกระถางพลาสติก แตกง่าย เมื่อใช้ไปนานๆ แล้วจะมีตะไคร่น้ำขึ้นรอบกระถาง ทำให้ดูสกปรก และล้างทำความสะอาดยากกว่ากระถางพลาสติก
กระถางพลาสติก
ข้อดี คือ ราคาถูก น้ำหนักเบา ทำความสะอาดง่าย ไม่มีปัญหาเรื่องตะไคร่น้ำ เก็บความชื้นได้ดีกว่ากระถางดินเผา ทำให้เครื่องปลูกแห้งช้า ทำให้ไม่ต้องรดน้ำบ่อยนัก
ข้อเสีย คือ เนื่องจากลักษณะของกระถางทึบไม่มีรูพรุนทำให้อากาศถ่ายเทไม่สะดวกถ้ารดน้ำมากจะทำให้น้ำขังแฉะ อาจจะทำให้รากพืชเน่าตายได้ อุณหภูมิของเครื่องปลูกสูงมากในฤดูร้อนโดยเฉพาะกระถางพลาสติกสีดำ
กระถางที่ทำจากวัสดุอื่น ซึ่งได้แก่ กระถางไม้ กระถางเคลือบ กระถางลายคราม กระถางดังกล่าวมีลักษณะต่างกัน จุดประสงค์เพื่อให้เกิดความสวยงามเวลานำไปตั้งหรือแขวนประดับตามสถานที่ต่างๆ
กระถางประดับที่ไม่ใช้ปลูกต้นไม้โดยตรง คือ กระถางประดับที่มีความสวยงาม หรือภาชนะที่สามารถใช้รองรับหรือเอากระถางปลูกต้นไม้ใส่ลงไปเพื่อให้ดูสวยงามยิ่งขึ้น เช่น กระบุง ตะกร้าไม้ไผ่สาน หวาย อลูมิเนียม กระเบื้องเคลือบ หรืออื่นๆ กระถางชนิดนี้เน้นความสวยงามเป็นหลัก เพราะส่วนใหญ่นำไปใช้ตกแต่งภายในอาคาร บ้านเรือน โรงแรม สำนักงาน หรือสถานที่อื่นๆ ส่วนมากจะมีราคาแพง การใช้งานต้องถนุถนอมหลีกเลี่ยงการโดนน้ำโดยเฉพาะกระถางประเภทที่ทำด้วยไม้ไผ่สาน หวาย จะทำให้ใช้งานได้นานขึ้น ขนาดและรูปทรงของกระถาง ขนาดของกระถางโดยทั่วไปจะใช้ตั้งแต่ขนาด 6นิ้ว 8นิ้ว 10นิ้ว จนถึงขนาด 12นิ้ว ถ้าเป็นกระถางดินเผาขนาดไม่ควรจะเกิน 12 นิ้ว เพราะเกินขนาดที่ดินเผาจะยึดเกาะได้แข็งแรงพอ และมักจะแตกหักได้ง่าย ถ้าจำเป็นต้องใช้ขนาดที่ใหญ่กว่านี้ ควรเลือกกระถางจำพวกกระถางเคลือบจะดีกว่า
กระถางมาตรฐานเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว กระถางมาตรฐานทั่วไป (Standard Pot) เป็นกระถางที่มีปากกว้าง ก้นกระถางแคบ โดยที่ปากกระถางจะมีความกว้างของเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับความสูงหรือความลึกของกระถาง เช่น กระถาง 6นิ้ว จะมีเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง 6นิ้ว และมีความสูงหรือความลึก 6นิ้ว เช่นเดียวกัน กระถางชนิดนี้ใช้ปลูกต้นไม้ทั่วๆไปไม่ว่าจะเป็น ไม้อายุสั้น หรือไม้ประดับที่มีอายุยาวนาน เช่น กุหลาบ ได้เพราะมีวัสดุหรือเครื่องปลูกมากพอที่ระบบรากจะเจริญเติบโตได้ ความลึกของกระถางจะช่วยให้สามารถพยุงพุ่มต้นได้ดี แต่มักจะมีปัญหาเรื่องดินแฉะ หากรูระบายน้ำอุดตัน ทำให้ระบบรากมีปัญหาได้
กระถางเตี้ย กระถางเตี้ย (Azalea Pots) มีลักษณะคล้ายทรงกระถางมาตรฐานทั่วไปแต่จะมีความลึกน้อยกว่า คือ ความลึกของกระถางเท่ากับพื้นที่ของเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง เหมาะสำหรับไม้ดอกมีพุ่มต้น และดอกชิดแน่น แต่ต้นเตี้ย เช่น กล็อกซีเนีย (Gloxinia) และอาฟริกันไวโอเลท (African Violet) เนื่องจากกระถางชนิดนี้มีลักษณะเตี้ย ก้นกระถางกว้างกว่ากระถางแบบมาตรฐาน ทำให้ต้นไม่ล้มง่ายมีความมั่นคง และดูสวยงามไม่เปลืองวัสดุปลูก
กระถางถาด กระถางถาด (Pans) เป็นกระถางก้นตื้น คือ ความลึกหรือความสูงของกระถางจะเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางของปากกระถาง เช่น ปากกระถางกว้าง 8 นิ้ว แต่จะลึกเพียง 4 นิ้ว เป็นต้น กระถางถาด หรือ กระถางก้นตื้นนี้เหมาะสำหรับปลูกไม้หัว และไม้ประดับบางชนิดที่มีพุ่มเตี้ย และแผ่กว้าง เช่น ต้นคริสมาส นอกจากนี้กระถางยังใช้เป็นภาชนะเพาะเมล็ดพันธุ์ได้ดีอีกด้วย เนื่องจากมีก้นตื้นทำให้ดินเพาะเมล็ดไม่แฉะ ไม่เปลืองดินเพาะ น้ำหนักเบาเคลื่อนย้ายสะดวก
ดินหรือเครื่องปลูก
ในธรรมชาตินั้น ต้นไม้เจริญเติบโตหรือขึ้นได้ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมของพรรณพืชแต่ละชนิด แต่การปลูกเลี้ยงไม้กระถาง เป็นการกำหนดให้ต้นไม้ต้องอยู่ในที่ที่จำกัดในภาชนะปลูก ดินหรือเครื่องปลูกจึงมีความจำเป็นต้องมีคุณสมบัติในการยึดลำต้น การอุ้มน้ำ การถ่ายเทอากาศ และง่ายในการที่รากจะไชชอนได้สะดวก การปลูกพืชในกระถาง รากพืชจะถูกจำกัดขอบเขตอยู่เฉพาะภายในกระถางเท่านั้น
ดังนั้นเพื่อให้พืชเจริญเติบโตตามความประสงค์ของผู้ปลูกเลี้ยง ดินหรือวัสดุปลูกควรมีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณภาพดี ซึ่งคุณสมบัติโดยทั่วไปดังนี้
ดินร่วนโปร่ง น้ำหนักเบา ระบายน้ำได้ดี ถ่ายเทอากาศได้ทั่วถึง ดูดซับน้ำได้ดี มีธาตุอาหาร หรือปุ๋ยที่พืชต้องการอย่างสมบูรณ์ ไม่มีความเป็นกรด เป็นด่างมากเกินไป มีความแน่นพอที่จะยึดให้ลำต้นทรงตัวอยู่ได้ ไม่มีสารเคมีที่เป็นพิษต่อรากพืช
เนื่องจากดินปลูกไม้กระถางอยู่ในพื้นที่ที่จำกัด ดินปลูกจึงควรมีลักษณะร่วนโปร่ง อุ้มน้ำ หรือเก็บความชื้นได้ดี สามารถระบายน้ำ และถ่ายเทอากาศได้ดี ดินทั่วไปมีคุณสมบัติทางเคมี และทางกายภาพที่แตกต่างกันไป เพื่อให้เหมาะสมเป็นเครื่องปลูกไม้กระถางจึงต้องมีการปรับปรุงคุณภาพโดยมีวัสดุอื่นๆ เป็นส่วนผสมดังนี้
อินทรีวัตถุ ประกอบด้วย เศษซากใบไม้ผุ เปลือกไม้แห้ง แกลบ ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ ฟางข้าว และเปลือกทั่ว เป็นต้น
ปุ๋ยคอก ประกอบด้วย ขี้วัว ขี้ควาย ขี้หมู ขี้ไก่ และขี้ค้างคาว เป็นต้น
ทราย อิฐป่น และถ่านป่น
วิธีการปลูก
การปลูกไม้กระถางนั้นอีกอย่างหนึ่งที่ควรคำนึงถึงก็คือ ขนาดของต้นไม้ และกระถางควรให้เหมาะสมกัน ถ้าต้นไม้ยังเล็กอยู่ก็ใช้กระถางเล็กไปก่อน พอต้นไม้โตพอที่จะเปลี่ยนกระถางจึงเปลี่ยนกระถางตานขนาดของต้นไม้ เนื่องจากการปลูกไม้กระถางเป็นไม้ประดับนั้นต้องการความสวยงามเป็นหลักอยู่แล้ว ถ้าปลูกเพื่อให้เพื่อให้ไม้ในกระถางเป็นไม้ที่โตเร็ว ควรปลูกต้นไม้ต้นเดียวในหนึ่งกระถาง หรือถ้าต้นไม้เป็นทรงพุ่มแตกกิ่งก้านแผ่มากก็ควรปลูกต้นเดียวในหนึ่งกระถางเช่นกัน ส่วนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านน้อยทรงสูง แต่ถ้าต้องการให้เป็นพุ่มเพื่อความสวยงามก็ควรปลูกลงหลายต้นในหนึ่งกระถาง จำนวนต้นแล้วแต่ความเหมาะสมระหว่างต้นไม้กับขนาดของกระถาง ถ้าต้นไม้เป็นไม้ทรงสูงมีลำต้นเดี่ยวตั้งตรงแล้วแตกพุ่มตอนบน ก็ต้องปลูกลงต้นเดียวในหนึ่งกระถาง
ในธรรมชาตินั้น ต้นไม้เจริญเติบโตหรือขึ้นได้ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมของพรรณพืชแต่ละชนิด แต่การปลูกเลี้ยงไม้กระถาง เป็นการกำหนดให้ต้นไม้ต้องอยู่ในที่ที่จำกัดในภาชนะปลูก ดินหรือเครื่องปลูกจึงมีความจำเป็นต้องมีคุณสมบัติในการยึดลำต้น การอุ้มน้ำ การถ่ายเทอากาศ และง่ายในการที่รากจะไชชอนได้สะดวก การปลูกพืชในกระถาง รากพืชจะถูกจำกัดขอบเขตอยู่เฉพาะภายในกระถางเท่านั้น
ดังนั้นเพื่อให้พืชเจริญเติบโตตามความประสงค์ของผู้ปลูกเลี้ยง ดินหรือวัสดุปลูกควรมีความอุดมสมบูรณ์ มีคุณภาพดี ซึ่งคุณสมบัติโดยทั่วไปดังนี้
ดินร่วนโปร่ง น้ำหนักเบา ระบายน้ำได้ดี ถ่ายเทอากาศได้ทั่วถึง ดูดซับน้ำได้ดี มีธาตุอาหาร หรือปุ๋ยที่พืชต้องการอย่างสมบูรณ์ ไม่มีความเป็นกรด เป็นด่างมากเกินไป มีความแน่นพอที่จะยึดให้ลำต้นทรงตัวอยู่ได้ ไม่มีสารเคมีที่เป็นพิษต่อรากพืช
เนื่องจากดินปลูกไม้กระถางอยู่ในพื้นที่ที่จำกัด ดินปลูกจึงควรมีลักษณะร่วนโปร่ง อุ้มน้ำ หรือเก็บความชื้นได้ดี สามารถระบายน้ำ และถ่ายเทอากาศได้ดี ดินทั่วไปมีคุณสมบัติทางเคมี และทางกายภาพที่แตกต่างกันไป เพื่อให้เหมาะสมเป็นเครื่องปลูกไม้กระถางจึงต้องมีการปรับปรุงคุณภาพโดยมีวัสดุอื่นๆ เป็นส่วนผสมดังนี้
อินทรีวัตถุ ประกอบด้วย เศษซากใบไม้ผุ เปลือกไม้แห้ง แกลบ ขุยมะพร้าว กาบมะพร้าวสับ ฟางข้าว และเปลือกทั่ว เป็นต้น
ปุ๋ยคอก ประกอบด้วย ขี้วัว ขี้ควาย ขี้หมู ขี้ไก่ และขี้ค้างคาว เป็นต้น
ทราย อิฐป่น และถ่านป่น
วิธีการปลูก
การปลูกไม้กระถางนั้นอีกอย่างหนึ่งที่ควรคำนึงถึงก็คือ ขนาดของต้นไม้ และกระถางควรให้เหมาะสมกัน ถ้าต้นไม้ยังเล็กอยู่ก็ใช้กระถางเล็กไปก่อน พอต้นไม้โตพอที่จะเปลี่ยนกระถางจึงเปลี่ยนกระถางตานขนาดของต้นไม้ เนื่องจากการปลูกไม้กระถางเป็นไม้ประดับนั้นต้องการความสวยงามเป็นหลักอยู่แล้ว ถ้าปลูกเพื่อให้เพื่อให้ไม้ในกระถางเป็นไม้ที่โตเร็ว ควรปลูกต้นไม้ต้นเดียวในหนึ่งกระถาง หรือถ้าต้นไม้เป็นทรงพุ่มแตกกิ่งก้านแผ่มากก็ควรปลูกต้นเดียวในหนึ่งกระถางเช่นกัน ส่วนต้นไม้ที่แตกกิ่งก้านน้อยทรงสูง แต่ถ้าต้องการให้เป็นพุ่มเพื่อความสวยงามก็ควรปลูกลงหลายต้นในหนึ่งกระถาง จำนวนต้นแล้วแต่ความเหมาะสมระหว่างต้นไม้กับขนาดของกระถาง ถ้าต้นไม้เป็นไม้ทรงสูงมีลำต้นเดี่ยวตั้งตรงแล้วแตกพุ่มตอนบน ก็ต้องปลูกลงต้นเดียวในหนึ่งกระถาง
เมื่อเลือกกระถางตามความเหมาะสมกับต้นไม้ที่จะปลูกแล้ว เราเริ่มปลูกตามขั้นตอนดังนี้
เอาเศษอิฐ หรือเศษกระถางแตกอุดที่รูระบายน้ำที่ก้นกระถางเสียก่อน ถ้าจะให้ดีต้องโรยทับด้วยกรวด อิฐมอญทุบ หรือถ่านอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนก็ได้ เพื่อให้ก้นกระถางโปร่ง และระบายน้ำได้ดี จากนั้นเอาดินหรือเครื่องปลูกที่เตรียมไว้ใส่กระถาง และทำมูลดินเป็นยอดแหลมเท่ากับความลึกของดิน
ที่ปลูก ก่อนปลูกหากไม้มีรากมากเกินไปควรตัดรากเก่าออกบ้าง เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างระบบรากใหม่ที่แข็งแรง และแตกแขนงได้มากขึ้น
วางโคนต้นไม้ลงที่ยอดแหลมของมูลดิน และจัดระบบรากให้แผ่ออกรอบด้าน ทิ้งตัวลงตามแนวลาดของมูลดิน เติมดินรอบๆ โคนต้นเพียงเล็กน้อยก่อน แล้วกดดินบริเวณรอบๆ โคนต้นเบาๆ เป็นการไล่โพรงอากาศ และเพื่อให้ดินสัมผัสรากพืชได้กระชับขึ้น จากนั้นเติมดินและกดเบาๆ จนเกือบเต็มกระถาง ให้ระดับดินอยู่ต่ำกว่าขอบกระถางพอประมาณ พยายามอย่าเติมดินจนเต็มหรือพูนกระถางจนเกินไป เพราะเวลารดน้ำจะทำให้น้ำไหลออกนอกกระถางแทนที่จะซึมลงกระถาง แต่ถ้าเติมดินน้อยเกินไปก็จะทำให้ดินยุบตัวจนเกิดรากลอย หรือทำให้บริเวณโคนต้นชื้นเกินไป เป็นสาเหตุให้เกิดโรคราได้ง่ายขึ้น
เอาเศษอิฐ หรือเศษกระถางแตกอุดที่รูระบายน้ำที่ก้นกระถางเสียก่อน ถ้าจะให้ดีต้องโรยทับด้วยกรวด อิฐมอญทุบ หรือถ่านอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนก็ได้ เพื่อให้ก้นกระถางโปร่ง และระบายน้ำได้ดี จากนั้นเอาดินหรือเครื่องปลูกที่เตรียมไว้ใส่กระถาง และทำมูลดินเป็นยอดแหลมเท่ากับความลึกของดิน
ที่ปลูก ก่อนปลูกหากไม้มีรากมากเกินไปควรตัดรากเก่าออกบ้าง เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างระบบรากใหม่ที่แข็งแรง และแตกแขนงได้มากขึ้น
วางโคนต้นไม้ลงที่ยอดแหลมของมูลดิน และจัดระบบรากให้แผ่ออกรอบด้าน ทิ้งตัวลงตามแนวลาดของมูลดิน เติมดินรอบๆ โคนต้นเพียงเล็กน้อยก่อน แล้วกดดินบริเวณรอบๆ โคนต้นเบาๆ เป็นการไล่โพรงอากาศ และเพื่อให้ดินสัมผัสรากพืชได้กระชับขึ้น จากนั้นเติมดินและกดเบาๆ จนเกือบเต็มกระถาง ให้ระดับดินอยู่ต่ำกว่าขอบกระถางพอประมาณ พยายามอย่าเติมดินจนเต็มหรือพูนกระถางจนเกินไป เพราะเวลารดน้ำจะทำให้น้ำไหลออกนอกกระถางแทนที่จะซึมลงกระถาง แต่ถ้าเติมดินน้อยเกินไปก็จะทำให้ดินยุบตัวจนเกิดรากลอย หรือทำให้บริเวณโคนต้นชื้นเกินไป เป็นสาเหตุให้เกิดโรคราได้ง่ายขึ้น
ที่มา :: https://sites.google.com/site/phuchswnkhrawrecycle601/home/5-1
No comments:
Post a Comment